พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,529 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 278-279/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกง, ปลอมหนังสือ, การรวมกระทงโทษ และการบังคับคดีนอกฟ้อง: ข้อพิพาทเรื่องการหลอกลวงทางการค้าและการกำหนดโทษ
การรวมกระทงลงโทษ เมื่อรวมโทษทุกกระทงเข้าด้วยกันแล้วจะลงโทษเกินกว่าอัตราขั้นสูงได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมุตขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา225(4)และ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องแม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมุตขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา225(4)และ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องแม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 275/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่เกิดจากการปลอมแปลงเอกสารและไม่มีอำนาจ การฟ้องติดตามทรัพย์คืนไม่ขาดอายุความ
มีผู้อื่นเอาที่ดินไปขายฝากโดยปลอมลายมือชื่อของเจ้าของที่ดินลงในใบมอบอำนาจว่าเจ้าของที่ดินมอบอำนาจให้เอาที่ดินไปขายฝากได้แม้ผู้รับซื้อฝากจะซื้อไว้โดยสุจริตเจ้าของที่ดินก็ย่อมมีสิทธิ์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากได้ เพราะเจ้าของที่ดินมิได้มอบอำนาจให้ขายนิติกรรมการขายฝากระหว่างเจ้าของที่ดินกับผู้ซื้อจึงไม่มีต่อกัน(อ้างฎีกาที่2049/92,1866/94) และกรณีเช่นนี้ไม่ต้องด้วย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 821,223,1329,1332 ทั้งไม่ใช่เรื่องบอกล้างโมฆียะกรรมตาม มาตรา143 ด้วย
อายุความฟ้องร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่มีผู้เอาไปโอนโดยไม่มีอำนาจ จะใช้อายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา51 ไม่ได้
อายุความฟ้องร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่มีผู้เอาไปโอนโดยไม่มีอำนาจ จะใช้อายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา51 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 275/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่ทำโดยไม่ได้รับมอบอำนาจ แม้ผู้ซื้อสุจริต ก็มีสิทธิ์เรียกร้องคืนได้
มีผู้อื่นเอาที่ดินไปขายฝากโดยปลอมลายมือชื่อของเจ้าของที่ดินลงในใบมอบอำนาจว่าเจ้าของที่ดินมอบอำนาจให้เอาที่ดินไปขายฝากได้ แม้ผู้รับซื้อฝากจะซื้อไว้โดยสุจริต เจ้าของที่ดินก็ย่อมมีสิทธิ์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากได้ เพราะเจ้าของที่ดินมิได้มอบอำนาจให้ขาย นิติกรรมการขายฝากระหว่างเจ้าของที่ดินกับผู้ซื้อจึงไม่มีต่อกัน (อ้างฎีกาที่ 2049/92,1866/94) และกรณีเช่นนี้ไม่ต้องด้วย ป.พ.พ. มาตรา 821,223,1329,1332 ทั้งไม่ใช่เรื่องบอกล้างโมฆียะกรรมตาม ม. 143 ด้วย
อายุความฟ้องร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่มีผู้เอาไปโอนโดยไม่มีอำนาจ จะใช้อายุความตามป.วิ.อาญา มาตรา 51 ไม่ได้
อายุความฟ้องร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมขายฝากที่มีผู้เอาไปโอนโดยไม่มีอำนาจ จะใช้อายุความตามป.วิ.อาญา มาตรา 51 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 273-274/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพรางการจำนอง: การนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์สภาพที่แท้จริงของสัญญา
โจทก์จำนองที่ดินไว้เป็นประกันเงินกู้แต่ทำหลักฐานทางทะเบียนเป็นการขายฝากและโจทก์คงครอบครองที่ดินมาดังนี้ โจทก์ย่อมนำสืบว่าสัญญาขายฝากที่ทำต่อเจ้าพนักงานว่าเป็นนิติกรรมอำพรางการจำนองได้ไม่เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร อันต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะถ้าสัญญาขายฝากเป็นนิติกรรมอำพรางการจำนองก็เป็นโมฆะเสียเปล่าใช้บังคับไม่ได้(ฎีกา 272/2498ประชุมใหญ่4/2498)
เมื่อคู่ความยังโต้เถียงข้อเท็จจริงกันว่ามีการทำนิติกรรมอำพรางนิติกรรมที่แท้จริงไว้และยังไม่ได้ความที่จะฟังว่าเป็นไปในทางใดศาลชั้นต้นก็สั่งงดสืบพยานเสียดังนี้ ศาลฎีกามีอำนาจให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาพิพากษาใหม่ได้
เมื่อคู่ความยังโต้เถียงข้อเท็จจริงกันว่ามีการทำนิติกรรมอำพรางนิติกรรมที่แท้จริงไว้และยังไม่ได้ความที่จะฟังว่าเป็นไปในทางใดศาลชั้นต้นก็สั่งงดสืบพยานเสียดังนี้ ศาลฎีกามีอำนาจให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาพิพากษาใหม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 272/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทายาทมีอำนาจฟ้องบังคับตามสัญญาซื้อขายของผู้ตายได้ สัญญาไม่ใช่เรื่องเฉพาะตัว
ผู้จัดการมรดกหรือทายาทของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องขอให้บังคับตามสัญญาซื้อขายที่ผู้ตายเป็นคู่สัญญาได้ เพราะสัญญาซื้อขายไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 272/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้จัดการมรดก/ทายาทในสัญญาซื้อขายที่ไม่ใช่สัญญาเฉพาะตัว
ผู้จัดการมรดกหรือทายาทของผู้ตายย่อมมีอำนาจฟ้องขอให้บังคับตามสัญญาซื้อขายที่ผู้ตายเป็นคู่สัญญาได้เพราะสัญญาซื้อขายไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 271/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: ประเด็นต่างกัน แม้เคยถูกกล่าวอ้างเป็นบริวารในคดีก่อน ไม่ถือฟ้องซ้ำตามกฎหมาย
ขั้นบังคับคดีแพ่งคดีหนึ่งจำเลยเคยถูกศาลสั่งให้ขับไล่ให้ออกจากห้องเช่าโดยว่าเป็นบริวารนายงักย้งจำเลยในคดี แต่จำเลยได้ต่อสู้ว่าไม่ใช่ ซึ่งศาลได้ไต่สวนแล้วสั่งว่า จำเลยไม่ใช่บริวารของนายงักย้ง แต่จำเลยได้เข้าอยู่อาศัยโดยเช่าจากโจทก์และสามี ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยอีกได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะมีประเด็นคนละประเด็น เพราะในคดีก่อนประเด็นมีเพียงว่าจำเลยเป็นบริวารนายงักย้นหรือไม่ ทั้งคดีเข้าข้อยกเว้นตาม ประมวล.วิ.แพ่ง มาตรา 148(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 271/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: ประเด็นต่างกัน แม้เคยเป็นบริวาร ไม่ถือฟ้องซ้ำตามมาตรา 148(1) ว.พ.พ.
ชั้นบังคับคดีแพ่งคดีหนึ่งจำเลยเคยถูกศาลสั่งให้ขับไล่ให้ออกจากห้องเช่าโดยว่าเป็นบริวารนายงักย้งจำเลยในคดีแต่จำเลยได้ต่อสู้ว่าไม่ใช่ซึ่งศาลได้ไต่สวนแล้วสั่งว่าจำเลยไม่ใช่บริวารของนายงักย้งแต่จำเลยได้เข้าอยู่อาศัยโดยเช่าจากโจทก์และสามีต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยอีกได้ ไม่เป็นฟ้องซ้ำเพราะมีประเด็นคนละประเด็นเพราะในคดีก่อนประเด็นมีเพียงว่าจำเลยเป็นบริวารนายงักย้งหรือไม่ทั้งคดีเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในทรัพย์สินของบุคคลภายนอกคดี: การบังคับคดีต้องไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย และให้โอกาสพิสูจน์สิทธิ
คำพิพากษาที่ได้กล่าวไว้ว่าให้บุคคลภายนอกซึ่งมิได้เป็นคู่ความในคดีมีส่วนได้ในทรัพย์สินใด ๆ ด้วยนั้น ย่อมไม่ผูกพันบุคคลภายนอกที่อ้างว่าตนจะพิสูจน์ได้ว่ามีสิทธิดีกว่า
ในชั้นบังคับคดีหากมีบุคคลภายนอกคัดค้านว่า ตนมีสิทธิในทรัพย์ที่ยึดดีกว่า ตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 ศาลควรรอการขายทอดตลาดทรัพย์นั้นไว้ก่อน และให้บุคคลภายนอกนั้นไปดำเนินคดีกับผู้ชนะคดีที่นำยึดทรัพย์ภายในกำหนดเสียก่อน ถ้าพ้นกำหนดไม่จัดการจึงให้ขายทอดตลาดทรัพย์ได้
ในชั้นบังคับคดีหากมีบุคคลภายนอกคัดค้านว่า ตนมีสิทธิในทรัพย์ที่ยึดดีกว่า ตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 ศาลควรรอการขายทอดตลาดทรัพย์นั้นไว้ก่อน และให้บุคคลภายนอกนั้นไปดำเนินคดีกับผู้ชนะคดีที่นำยึดทรัพย์ภายในกำหนดเสียก่อน ถ้าพ้นกำหนดไม่จัดการจึงให้ขายทอดตลาดทรัพย์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิบุคคลภายนอกในคดีบังคับคดี: ศาลต้องรอการบังคับคดีหากมีผู้มีสิทธิมากกว่าอ้างสิทธิในทรัพย์สิน
คำพิพากษาที่ได้กล่าวไว้ว่าให้บุคคลภายนอกซึ่งมิได้เป็นคู่ความในคดีมีส่วนได้ในทรัพย์สินใดๆ ด้วยนั้น
ย่อมไม่ผูกพันบุคคลภายนอกที่อ้างว่าตนจะพิสูจน์ได้ว่ามีสิทธิดีกว่า
ในชั้นบังคับคดีหากมีบุคคลภายนอกคัดค้านว่าตนมีสิทธิในทรัพย์ที่ยึดดีกว่า ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 145 ศาลควรรอการขายทอดตลาดทรัพย์นั้นไว้ก่อน และให้บุคคลภายนอกนั้นไปดำเนินคดีกับผู้ชนะคดีที่นำยึดทรัพย์ภายในกำหนดเสียก่อนถ้าพ้นกำหนดไม่จัดการจึงให้ขายทอดตลาดทรัพย์ได้
ย่อมไม่ผูกพันบุคคลภายนอกที่อ้างว่าตนจะพิสูจน์ได้ว่ามีสิทธิดีกว่า
ในชั้นบังคับคดีหากมีบุคคลภายนอกคัดค้านว่าตนมีสิทธิในทรัพย์ที่ยึดดีกว่า ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 145 ศาลควรรอการขายทอดตลาดทรัพย์นั้นไว้ก่อน และให้บุคคลภายนอกนั้นไปดำเนินคดีกับผู้ชนะคดีที่นำยึดทรัพย์ภายในกำหนดเสียก่อนถ้าพ้นกำหนดไม่จัดการจึงให้ขายทอดตลาดทรัพย์ได้