พบผลลัพธ์ทั้งหมด 190 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 807-808/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือกเกิน 500 บาท แม้ไม่มีเอกสาร แต่การตวงข้าวถือเป็นการชำระหนี้ โจทก์ฟ้องได้
การซื้อขายข้าวเปลือกราคาเกินกว่า 500 บาท เมื่อจำเลยตวงข้าวไปจากโจทก์แล้ว ถือได้ว่ามีการชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรค 2 แล้ว แม้จะไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ โจทก์ก็ฟ้องเรียกราคาข้าวจากจำเลยได้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 (2) ที่ห้ามไม่ให้นำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารนั้น ต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงเท่านั้น กรณีที่โจทก์ฟ้องเรียกราคาข้าวที่ขายให้จำเลยโดยไม่มีเอกสารเป็นหนังสือมาแสดง แม้เอกสารจะมีข้อความว่า " รับฝากข้าวเปลือก" โจทก์ก็นำพยานบุคคลมาสืบได้ว่าเป็นเรื่องซื้อขายข้าวกัน
จำเลยที่ 2 กระทำในนามผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้เอาตราของบริษัทจำเลยที่ 1 มาดีประทับด้วย ถือว่าจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ซื้อข้าวไปจากโจทก์ แทนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยซื้อเชื่อข้าวเปลือกเจ้าจากโจทก์ ดังนี้จำเลยสามารถเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ผู้ประกอบกสิกรรมฟ้องเรียกเอาค่าผลิตผลแห่งกสิกรรมที่ได้ขายให้จำเลยซึ่งเป็นบริษัทโรงสี กรณีไม่เข้าอยู่ในบังคับแห่งอายุความ 2 ปี อายุความจึงมีกำหนด 5 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 (2) ที่ห้ามไม่ให้นำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารนั้น ต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงเท่านั้น กรณีที่โจทก์ฟ้องเรียกราคาข้าวที่ขายให้จำเลยโดยไม่มีเอกสารเป็นหนังสือมาแสดง แม้เอกสารจะมีข้อความว่า " รับฝากข้าวเปลือก" โจทก์ก็นำพยานบุคคลมาสืบได้ว่าเป็นเรื่องซื้อขายข้าวกัน
จำเลยที่ 2 กระทำในนามผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้เอาตราของบริษัทจำเลยที่ 1 มาดีประทับด้วย ถือว่าจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ซื้อข้าวไปจากโจทก์ แทนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยซื้อเชื่อข้าวเปลือกเจ้าจากโจทก์ ดังนี้จำเลยสามารถเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ผู้ประกอบกสิกรรมฟ้องเรียกเอาค่าผลิตผลแห่งกสิกรรมที่ได้ขายให้จำเลยซึ่งเป็นบริษัทโรงสี กรณีไม่เข้าอยู่ในบังคับแห่งอายุความ 2 ปี อายุความจึงมีกำหนด 5 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 807-808/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือกเกิน 500 บาท แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็ฟ้องเรียกราคาได้ และอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การซื้อขายข้าวเปลือกราคาเกินกว่า 500 บาท เมื่อจำเลยตวงข้าวไปจากโจทก์แล้ว ถือว่าได้มีการชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 456 วรรคสองแล้ว แม้จะไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ โจทก์ก็ฟ้องเรียกราคาข้าวจากจำเลยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94(2)ที่ห้ามมิให้นำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารนั้นต้องเป็นกรณีที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงเท่านั้น กรณีที่โจทก์ฟ้องเรียกราคาข้าวที่ขายให้จำเลยโดยไม่ต้องมีเอกสารเป็นหนังสือมาแสดง แม้เอกสารจะมีข้อความว่า "รับฝากข้าวเปลือก" โจทก์ก็นำพยานบุคคลมาสืบได้ว่าเป็นเรื่องซื้อขายข้าวกัน
จำเลยที่ 2 กระทำในนามผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้เอาตราของบริษัทจำเลยที่ 1 มาตีประทับด้วย ถือว่าจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ซื้อข้าวไปจากโจทก์แทนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยซื้อเชื่อข้าวเปลือกเจ้าจากโจทก์ ดังนี้ จำเลยสามารถเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ผู้ประกอบกสิกรรมฟ้องเรียกเอาค่าผลิตผลแห่งกสิกรรมที่ได้ขายให้จำเลยซึ่งเป็นบริษัทโรงสี กรณีไม่เข้าอยู่ในบังคับแห่งอายุความ 2 ปี อายุความจึงมีกำหนด 5 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย
จำเลยที่ 2 กระทำในนามผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้เอาตราของบริษัทจำเลยที่ 1 มาตีประทับด้วย ถือว่าจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ซื้อข้าวไปจากโจทก์แทนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยซื้อเชื่อข้าวเปลือกเจ้าจากโจทก์ ดังนี้ จำเลยสามารถเข้าใจข้อหาและต่อสู้คดีได้แล้ว ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ผู้ประกอบกสิกรรมฟ้องเรียกเอาค่าผลิตผลแห่งกสิกรรมที่ได้ขายให้จำเลยซึ่งเป็นบริษัทโรงสี กรณีไม่เข้าอยู่ในบังคับแห่งอายุความ 2 ปี อายุความจึงมีกำหนด 5 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 793/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ฐานะบุคคลทางกฎหมายและการมอบอำนาจฟ้องคดี
ต้นฉบับเอกสารอันแท้จริงรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ แต่ส่วนข้อความในเอกสารจะถูกต้องตรงกับความจริงหรือไม่ เป็นข้อที่ศาลจะได้วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนอีกขั้นหนึ่ง
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิ์และหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอจะที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักษณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียว พฤติการณ์ต่าง ๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิ์ได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้องเลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิ์และหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอจะที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักษณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียว พฤติการณ์ต่าง ๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิ์ได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้องเลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 793/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีโดยตัวแทน และการพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ
ต้นฉบับเอกสารอันแท้จริงรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ แต่ส่วนข้อความในเอกสารจะถูกต้องตรงกับความจริงหรือไม่ เป็นข้อที่ศาลจะได้วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนอีกชั้นหนึ่ง
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิและหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักขณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียวพฤติการณ์ต่างๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้อง เลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้
ข้อความในเอกสารซึ่งแสดงว่าบริษัทโจทก์มีสิทธิและหน้าที่ทำนิติกรรมมอบอำนาจได้ในนามของบริษัทโจทก์ โดยทำต่อเจ้าหน้าที่เป็นทางการ เป็นการเพียงพอที่จะฟังได้ว่าโจทก์มีฐานะที่จะฟ้องคดีได้ในนามของตนเอง
การพิสูจน์ฐานะบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศ ไม่จำต้องพิสูจน์โดยวิจักขณ์พยานผู้รู้กฎหมายต่างประเทศโดยตรงแต่ทางเดียวพฤติการณ์ต่างๆ ที่แสดงถึงการมีฐานะใช้สิทธิได้ตามกฎหมายดุจบุคคลทั่วไป ก็เป็นข้อเท็จจริงให้ศาลวินิจฉัยเช่นนั้นได้
ตามคำฟ้องปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ฟ้องคดีโดยการมอบอำนาจของโจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 จึงฟ้องคดีนี้เป็นส่วนตัวไม่ได้ แต่จะยกฟ้อง เลยไปถึงโจทก์ที่ 1 ที่ฟ้องโดยโจทก์ที่ 2 รับมอบอำนาจด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 618/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องหนี้ซื้อเชื่อ vs. การเรียกทรัพย์คืนฐานลาภมิควรได้ ศาลฎีกาชี้ขาดประเด็น
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้สินเกี่ยวกับจำเลยที่ 1 ซื้อของเชื่อไปจากบริษัท ส. มิใช่ฟ้องขอให้ชำระหนี้ฐานลาภมิควรได้ ถึงแม้โจทก์จะเขียนฟ้องตั้งรูปคดีเป็นประการใดก็ตาม แต่กรณีตามฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องเรียกหนี้สินที่ค้างชำระเกี่ยวกับจำเลยซื้อเชื่อน้ำสุราไปจากบริษัท ส. ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(4)
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์สินคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์นั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้นตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครองทรัพย์เป็นการสว่นตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่าฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย เพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิด หรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมาย แต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับ ขวด หีบ และกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถคืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์สินคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์นั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้นตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครองทรัพย์เป็นการสว่นตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่าฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย เพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิด หรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมาย แต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับ ขวด หีบ และกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถคืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 618/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องหนี้ซื้อของเชื่อ vs. การฟ้องเรียกทรัพย์คืนฐานลาภมิควรได้ และขอบเขตคำขอท้ายฟ้อง
โจทก์ฟ้องเรียกหนี้สินเกี่ยวกับจำเลยที่ 1 ซื้อของเชื่อไปจากบริษัท ส. มิใช่ฟ้องขอให้ชำระหนี้ฐานลาภมิควรได้ ถึงแม้โจทก์จะเขียน ฟ้องตั้งรูปคดีเป็นประการใดก็ตาม แต่กรณีตามฟ้องของโจทก์เป็นเรื่องฟ้องเรียกหนี้สินที่ค้างชำระเกี่ยวกับจำเลยซื้อเชื่อน้ำสุราไปจากบริษัท ส. ฟ้องของโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์คืน จากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์เหล่านั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้น ตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครอง ทรัพย์เป็นการส่วนตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ย ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่า ฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมายเพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิดหรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมายแต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับขวด หีบและกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถ คืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
จำเลยที่ 1 เป็นบริษัทจำกัด และตามฟ้องก็ฟ้องเรียกทรัพย์คืน จากจำเลยฐานลาภมิควรได้ เนื่องจากจำเลยยึดถือทรัพย์เหล่านั้นไว้โดยปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงต้องถือว่าของเหล่านั้น ตกอยู่ในความยึดถือครอบครองของจำเลยที่ 1 เท่านั้น จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการมิได้ยึดถือครอบครอง ทรัพย์เป็นการส่วนตัวแต่อย่างใด จึงไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1
ฎีกาโจทก์มิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่า โจทก์จะได้ดอกเบี้ย ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน 2502 ด้วยเหตุใดจึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำให้การข้อ 3 จำเลยยกอายุความขึ้นต่อสู้โดยชัดแจ้งว่า ฟ้องข้อ 3 ของโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1)(17) ซึ่งเป็นเรื่องซื้อของเชื่อ ส่วนคำให้การข้อ 6 ซึ่งจำเลยให้การต่อสู้เกี่ยวกับฟ้องข้อ 4 นั้น จำเลยให้การว่าทรัพย์ไปตกอยู่ที่จำเลยที่ 1 และโจทก์ขอมาในคำขอท้ายฟ้องข้อ 1 ให้จำเลยใช้เงินค่าทรัพย์สินฐานลาภมิควรได้ จำเลยขอต่อสู้และตัดฟ้องว่า โจทก์ไม่มีสิทธิและอำนาจขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สินได้ตามกฎหมายเพราะไม่ใช่เรื่องการซื้อขายทรัพย์สินหรือเรื่องละเมิดหรือในกรณีพิพาทที่จะฟ้องร้องเอาเงินได้ตามกฎหมายแต่เป็นเรื่องลาภมิควรได้ และในเรื่องลาภมิควรได้ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิหรืออำนาจฟ้องขอให้จำเลยใช้ค่าทรัพย์สิน ดังนี้ เห็นว่า จำเลยไม่ได้ยกอายุความขึ้นสู้ในเรื่องลาภมิควรได้เลย
โจทก์บรรยายฟ้องแล้วว่าจำเลยที่ 1 ได้รับขวด หีบและกระสอบไปโดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ จึงเป็นการได้ในฐานลาภมิควรได้ ซึ่งตามธรรมดาก็จะฟ้องขอให้คืนตัวทรัพย์ก่อน เมื่อไม่สามารถคืนได้ จึงให้ใช้ราคาแทน แม้คำขอท้ายฟ้องจะมิได้ขอให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ก็ตาม ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนตัวทรัพย์ ถ้าไม่สามารถ คืนได้ก็ให้ใช้ราคา ไม่เป็นการนอกเหนือหรือเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 586/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ที่ดินจากการซื้อฝากแทนและผลกระทบต่อการครอบครองและการซื้อขาย
โจทก์กล่าวในฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินไว้จากผู้มีชื่อ เจ้าของเดิมไม่ไถ่คืน ที่ดินและโรงเรือนพิพาทจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ แต่ทางพิจารณาโจทก์นำสืบว่าหลวงศรีสุพรรณดิษฐ์รับซื้อฝากที่ดินแทนโจทก์ ไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น และคำฟ้องโจทก์ไม่ได้แตกต่างกับข้อเท็จจริงในทางพิจารณา เพราะเป็นการสืบถึงรายละเอียดของวิธีรับซื้อฝากและความเป็นมาแห่งการเป็นเจ้าของที่ดินของโจทก์
แม้การรับซื้อฝากแทนโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ แต่ผู้รับซื้อฝากได้ครอบครองแทนโจทก์ ที่พิพาทก็ตกเป็นของโจทก์ได้โดยทางครอบครอง
ที่วิวาทจะเป็นของโจทก์หรือเป็นของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน เป็นเรื่องระหว่างรัฐกับโจทก์ จำเลยซึ่งเป็นเอกชนไม่มีสิทธิที่จะยกบทกฎหมายดังกล่าวขึ้นต่อสู้โจทก์
ฟ้องโจทก์ได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาไม่มีข้อความตอนใดเคลือบคลุมอันจะเป็นเหตุให้จำเลยหลงข้อต่อสู้ ตามคำให้การของจำเลยก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยหลงข้อต่อสู้ตรงไหน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
วัดเป็นนิติบุคคลที่ทำการรับซื้อฝากที่ดินและเรือนได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา วัตถุประสงค์ของวัดไม่จำต้องกล่าวในฟ้อง เพราะไม่ได้มีกฎหมายบัญญัติให้วัดแจ้งวัตถุประสงค์ไว้แต่อย่างใด
เมื่อจำเลยมิได้ยกประเด็นที่ฎีกาขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นมากล่าวในชั้นฎีกาไม่ได้.
แม้การรับซื้อฝากแทนโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ แต่ผู้รับซื้อฝากได้ครอบครองแทนโจทก์ ที่พิพาทก็ตกเป็นของโจทก์ได้โดยทางครอบครอง
ที่วิวาทจะเป็นของโจทก์หรือเป็นของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดิน เป็นเรื่องระหว่างรัฐกับโจทก์ จำเลยซึ่งเป็นเอกชนไม่มีสิทธิที่จะยกบทกฎหมายดังกล่าวขึ้นต่อสู้โจทก์
ฟ้องโจทก์ได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาไม่มีข้อความตอนใดเคลือบคลุมอันจะเป็นเหตุให้จำเลยหลงข้อต่อสู้ ตามคำให้การของจำเลยก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยหลงข้อต่อสู้ตรงไหน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
วัดเป็นนิติบุคคลที่ทำการรับซื้อฝากที่ดินและเรือนได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา วัตถุประสงค์ของวัดไม่จำต้องกล่าวในฟ้อง เพราะไม่ได้มีกฎหมายบัญญัติให้วัดแจ้งวัตถุประสงค์ไว้แต่อย่างใด
เมื่อจำเลยมิได้ยกประเด็นที่ฎีกาขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จะยกขึ้นมากล่าวในชั้นฎีกาไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 586/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อฝากที่ดิน การครอบครองปรปักษ์ และสิทธิเหนือที่ดิน: ข้อพิพาทระหว่างวัดกับเอกชน
โจทก์กล่าวในฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินไว้จากผู้มีชื่อเจ้าของเดิมไม่ไถ่คืนที่ดินและโรงเรือนพิพาทจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์แต่ทางพิจารณาโจทก์นำสืบว่าหลวงศรีสุพรรณดิษฐ์รับซื้อฝากที่ดินแทนโจทก์ไม่เป็นการนำสืบนอกประเด็น และคำฟ้องโจทก์ไม่ได้แตกต่างกับข้อเท็จจริงในทางพิจารณา เพราะเป็นการสืบถึงรายละเอียดของวิธีรับซื้อฝากและความเป็นมาแห่งการเป็นเจ้าของที่ดินของโจทก์
แม้การรับซื้อฝากแทนโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ แต่ผู้รับซื้อฝากได้ครอบครองแทนโจทก์ ที่พิพาทก็ตกเป็นของโจทก์ได้โดยทางครอบครอง
ที่วิวาทจะเป็นของโจทก์หรือเป็นของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดินเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับโจทก์จำเลยซึ่งเป็นเอกชนไม่มีสิทธิที่จะยกบทกฎหมายดังกล่าวขึ้นต่อสู้โจทก์
ฟ้องโจทก์ได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาไม่มีข้อความตอนใดเคลือบคลุมอันจะเป็นเหตุให้จำเลยหลงข้อต่อสู้ตามคำให้การของจำเลยก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยหลงข้อต่อสู้ตรงไหน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
วัดเป็นนิติบุคคลที่ทำการรับซื้อฝากที่ดินและเรือนได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดาวัตถุประสงค์ของวัดไม่จำต้องกล่าวในฟ้องเพราะไม่ได้มีกฎหมายบัญญัติให้วัดแจ้งวัตถุประสงค์ไว้แต่อย่างใด
เมื่อจำเลยมิได้ยกประเด็นที่ฎีกาขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์จะยกขึ้นมากล่าวในชั้นฎีกาไม่ได้
แม้การรับซื้อฝากแทนโจทก์จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ แต่ผู้รับซื้อฝากได้ครอบครองแทนโจทก์ ที่พิพาทก็ตกเป็นของโจทก์ได้โดยทางครอบครอง
ที่วิวาทจะเป็นของโจทก์หรือเป็นของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดินเป็นเรื่องระหว่างรัฐกับโจทก์จำเลยซึ่งเป็นเอกชนไม่มีสิทธิที่จะยกบทกฎหมายดังกล่าวขึ้นต่อสู้โจทก์
ฟ้องโจทก์ได้แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาไม่มีข้อความตอนใดเคลือบคลุมอันจะเป็นเหตุให้จำเลยหลงข้อต่อสู้ตามคำให้การของจำเลยก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยหลงข้อต่อสู้ตรงไหน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
วัดเป็นนิติบุคคลที่ทำการรับซื้อฝากที่ดินและเรือนได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดาวัตถุประสงค์ของวัดไม่จำต้องกล่าวในฟ้องเพราะไม่ได้มีกฎหมายบัญญัติให้วัดแจ้งวัตถุประสงค์ไว้แต่อย่างใด
เมื่อจำเลยมิได้ยกประเด็นที่ฎีกาขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์จะยกขึ้นมากล่าวในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 225/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องวัดในสภาพนิติบุคคลจากสัญญาจ้างเหมา แม้จะไม่ได้ระบุผู้แทนชัดเจน วัดต้องรับผิดหากไม่โต้แย้ง
ในช่องคู่ความในฟ้องใส่ว่า วัดเป็นจำเลยที่ 1 ในคำบรรยายฟ้องมีความรวมๆ ว่าจำเลยจ้างเหมาโจทก์ โดยมิได้บรรยายว่าวัดซึ่งเป็นนิติบุคคลนั้นได้ทำสัญญาว่าจ้างโดยใครเป็นผู้แทน คำฟ้องเช่นนี้ก็ถือว่า โจทก์ได้ฟ้องวัดในสภาพนิติบุคคลให้มีความรับผิดขอบตามคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ด้วย และวัดก็มิได้โต้แย้งว่าวัดมิได้เป็นคู่สัญญากับโจทก์ จึงไม่มีประเด็นว่าวัดไม่ต้องรับผิดเพราะมิได้เป็นคู่สัญญาแต่ประการใด
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 32/2503
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 32/2503
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1328/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำเข้าสินค้าควบคุมโดยสำคัญผิดและผู้ร่วมกระทำผิด: ทัพพีจากเครื่องจักรเข้าข่ายสิ่งหัตถกรรม
จำเลยที่ 2 เป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ได้สั่งของต้องห้ามจากต่างประเทศแทนจำเลย ที่ 1 โดยมิได้รับอนุญาตจากกระทรวงเศรษฐการก่อน แม้จะอ้างว่าสำคัญผิดว่า ของที่สั่งมานั้น ไม่ใช่ของต้องห้าม ก็ยังคงต้องมีความผิด กรณีเช่นนี้ถือว่าจำเลยทั้งสอง เป็นผู้ร่วมกันกระทำผิด
ทัพพีแม้ จะเป็นสิ่งประดิษฐ์ จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่า เป็นสิ่งหัตถกรรมการความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวง เศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)
ทัพพีแม้ จะเป็นสิ่งประดิษฐ์ จากเครื่องจักร ก็อยู่ในความหมายว่า เป็นสิ่งหัตถกรรมการความหมายในประกาศของกระทรวงเศรษฐการ ลงวันที่ 14 กันยายน 2498 ข้อ 10 อันจำต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวง เศรษฐการเสียก่อน จึงจะนำเข้ามาในราชอาณาจักรได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 20/2503)