คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.วิ.พ. ม. 49

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 34 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2215/2526

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ จำเลยปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการรับประกันภัยของคู่กรณี ศาลฎีกาตัดสินว่าไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหาย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดในฐานะผู้รับประกันภัยรถยนต์ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 ให้การว่ารับประกันภัยรถคันนี้ไว้จากห้าง ส. ไม่มีความเกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วม รับผิด ศาลชั้นต้นชี้สองสถานโดยมิได้กำหนดประเด็นข้อนี้ ไว้และไม่มีคู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดโต้แย้ง จึงไม่มีประเด็นพิพาทในเรื่องนี้ และการที่จำเลยที่ 3 ให้การดังกล่าวก็ไม่เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่ เพราะการระบุชื่อห้าง ส. เป็นเพียงรายละเอียดที่แสดงให้เห็นชัดขึ้นว่าไม่ได้เกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2. ฉะนั้น คดีต้องฟังว่าจำเลยที่ 3 มิได้รับประกันภัยจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 2

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2098/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสละประเด็นข้อพิพาทเรื่องค่าจ้าง: ศาลชอบที่จะไม่วินิจฉัยหากคู่ความไม่โต้แย้ง
เมื่อประเด็นที่ว่าจำเลยค้างชำระค่าจ้างแก่โจทก์ตามฟ้องหรือไม่จำเลยได้ให้การต่อสู้ว่าชำระแล้ว แต่ศาลชั้นต้นมิได้กำหนดปัญหาข้อนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทไว้ โดยโจทก์จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านแต่อย่างใด ถือได้ว่าคู่ความสละเกี่ยวกับปัญหาข้อนี้แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2098/2526

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสละประเด็นข้อพิพาทเรื่องค่าจ้างค้างชำระ: ศาลฎีกาตัดสินชอบธรรม
เมื่อประเด็นที่ว่าจำเลยค้างชำระค่าจ้างแก่โจทก์ตามฟ้องหรือไม่จำเลยได้ให้การต่อสู้ว่าชำระแล้ว แต่ศาลชั้นต้นมิได้กำหนดปัญหาข้อนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทไว้โดยโจทก์จำเลยมิได้โต้แย้งคัดค้านแต่อย่างใดถือได้ว่าคู่ความสละเกี่ยวกับปัญหาข้อนี้แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2520/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกำหนดประเด็นข้อพิพาท: จำเลยต้องคัดค้านในชั้นต้น หากไม่คัดค้านประเด็นข้อพิพาทตามที่ศาลกำหนด ประเด็นนั้นย่อมเป็นไปตามที่ศาลชั้นต้นกำหนด
การที่ศาลชั้นต้นชี้สองสถานว่าจำเลยไม่ได้ฟ้องแย้งขอไถ่จึงไม่มีประเด็นในข้อที่ว่าจำเลยได้ใช้สิทธิไถ่ถอนในกำหนดหรือไม่ซึ่งเป็นเรื่องกำหนดประเด็นข้อพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมตรา 183 ถ้าจำเลยเห็นว่าศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นข้อพิพาทไม่ถูกต้องประการใดก็ชอบที่จะคัดค้านขณะนั้น แต่จำเลยมิได้คัดค้านว่าไม่ถูกต้องประการใด ประเด็นข้อพิพาทจึงต้องเป็นไปตามที่ศาลชั้นต้นกำหนด จำเลยจะยกขึ้นคัดค้านในชั้นอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2520/2517

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกำหนดประเด็นข้อพิพาท: จำเลยต้องคัดค้านการชี้สองสถาน หากไม่คัดค้านในชั้นต้น จะยกขึ้นคัดค้านในชั้นอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้
การที่ศาลชั้นต้นชี้สองสถานว่าจำเลยไม่ได้ฟ้องแย้งขอไถ่จึงไม่มีประเด็นในข้อที่ว่าจำเลยได้ใช้สิทธิไถ่ถอนในกำหนดหรือไม่ซึ่งเป็นเรื่องกำหนดประเด็นข้อพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมตรา 183 ถ้าจำเลยเห็นว่าศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นข้อพิพาทไม่ถูกต้องประการใดก็ชอบที่จะคัดค้านขณะนั้น แต่จำเลยมิได้คัดค้านว่าไม่ถูกต้องประการใดประเด็นข้อพิพาทจึงต้องเป็นไปตามที่ศาลชั้นต้นกำหนด จำเลยจะยกขึ้นคัดค้านในชั้นอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 354-355/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลมีผลผูกพัน ห้ามเปลี่ยนเเปลงข้ออ้างภายหลัง
ตามรายงานกระบวนพิจารณาลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2509 ปรากฏว่าผู้ร้องทั้ง 10 แถลงรับว่าได้เช่าบ้านจำเลยอยู่.ศาลชั้นต้นจึงมีคำสั่งให้ผู้ร้องทั้ง 10 ออกไปภายใน 2เดือนนับแต่วันนั้น (อันเป็นมูลให้ผู้ร้องอุทธรณ์ฎีกาต่อมา). นับจากนั้นมาภายในระยะเวลา 1 เดือน ผู้ร้องทั้ง 10 หาได้อุทธรณ์คำสั่งอย่างใด.ไม่. คำสั่งที่กล่าวจึงถึงที่สุด แม้ผู้ร้องทั้ง 10 จะได้ยื่นคำร้องลงวันที่ 30 มิถุนายน 2509 ในเวลาภายหลังต่อมา อ้างว่ามิใช่บริวารจำเลย. ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504 ซึ่งเป็นข้ออ้างอย่างอื่นขึ้นมาใหม่. อันเป็นคนละประเด็น และเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมข้อเท็จจริงที่ยุติในสำนวนที่.ศาลไม่ชอบที่จะฟังเป็นอย่างอื่นได้. ศาลจึงไม่จำต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องที่ยื่นมาใหม่.
การที่ผู้ร้องแถลงรับต่อศาลไว้ว่า ได้เช่าบ้านจำเลยอยู่ โดยไม่ปรากฏข้ออ้างข้อเถียงอย่างอื่นนั้น. แสดงว่าผู้ร้องอ้างสิทธิการเช่าจากจำเลย จึงเป็นบริวารจำเลยนั่นเอง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 354-355/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแถลงรับข้อเท็จจริงต่อศาลมีผลผูกพัน การเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงภายหลังไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ตามรายงานกระบวนพิจารณาลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2509 ปรากฏว่าผู้ร้องทั้ง 10 แถลงรับว่าได้เช่าบ้านจำเลยอยู่ ศาลชั้นต้นจึงมีคำสั่งให้ผู้ร้องทั้ง 10 ออกไปภายใน 2 เดือนนับแต่วันนั้น (อันเป็นมูลให้ผู้ร้องอุทธรณ์ฎีกาต่อมา) นับจากนั้นมาในระยะเวลา 1 เดือน ผู้ร้องทั้ง 10 หาได้อุทธรณ์คำสั่งอย่างใดไม่ คำสั่งที่กล่าวถึงที่สุด แม้ผู้ร้องทั้ง 10 จะได้ยื่นคำร้องลงวันที่ 30 มิถุนายน 2509 ในเวลาภายหลังต่อมา อ้างว่ามิใช่บริวารจำเลย ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นข้ออ้างอย่างอื่นขึ้นมาใหม่ อันเป็นคนละประเด็น และเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมข้อเท็จจริงที่ยุติในสำนวนที่ศาลไม่ชอบที่จะฟังเป็นอย่างอื่นได้ ศาลจึงไม่จำต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องที่ยื่นมาใหม่
การที่ผู้ร้องแถลงรับต่อศาลไว้ว่า ได้เช่าบ้านจำเลยอยู่ โดยไม่ปรากฏข้ออ้างข้อเถียงอย่างอื่นนั้น แสดงว่าผู้ร้องอ้างสิทธิการเช่าจากจำเลย จึงเป็นบริวารจำเลยนั่นเอง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 354-355/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแถลงรับข้อเท็จจริงในชั้นศาลมีผลผูกพัน ห้ามเปลี่ยนแปลงข้ออ้างภายหลัง
ตามรายงานกระบวนพิจารณาลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2509 ปรากฏว่าผู้ร้องทั้ง 10 แถลงรับว่าได้เช่าบ้านจำเลยอยู่ศาลชั้นต้นจึงมีคำสั่งให้ผู้ร้องทั้ง 10 ออกไปภายใน 2 เดือนนับแต่วันนั้น (อันเป็นมูลให้ผู้ร้องอุทธรณ์ฎีกาต่อมา) นับจากนั้นมาภายในระยะเวลา 1 เดือน ผู้ร้องทั้ง 10 หาได้อุทธรณ์คำสั่งอย่างใดไม่ คำสั่งที่กล่าวจึงถึงที่สุด แม้ผู้ร้องทั้ง 10 จะได้ยื่นคำร้องลงวันที่ 30 มิถุนายน 2509 ในเวลาภายหลังต่อมาอ้างว่ามิใช่บริวารจำเลย ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504 ซึ่งเป็นข้ออ้างอย่างอื่นขึ้นมาใหม่อันเป็นคนละประเด็น และเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมข้อเท็จจริงที่ยุติในสำนวนที่ศาลไม่ชอบที่จะฟังเป็นอย่างอื่นได้ศาลจึงไม่จำต้องไต่สวนคำร้องของผู้ร้องที่ยื่นมาใหม่
การที่ผู้ร้องแถลงรับต่อศาลไว้ว่า ได้เช่าบ้านจำเลยอยู่ โดยไม่ปรากฏข้ออ้างข้อเถียงอย่างอื่นนั้นแสดงว่าผู้ร้องอ้างสิทธิการเช่าจากจำเลย จึงเป็นบริวารจำเลยนั่นเอง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1009/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมแก้ไขตกเติมไม่สมบูรณ์เฉพาะส่วน ไม่ทำให้พินัยกรรมทั้งหมดเป็นโมฆะ โจทก์ขอสืบพยานนอกประเด็นฟ้องไม่ได้
ข้อขูดลบแก้ไขตกเติมในพินัยกรรมโดยมิได้ปฏิบัติตามแบบอย่างเดียวกับการทำพินัยกรรมตามความใน ม. 1656 แห่ง ป.พ.พ. วรรค 2 นั้นย่อมไม่สมบูรณ์เฉพาะส่วนที่ทำไม่ถูกต้องนั้นเท่านั้น หาทำให้พินัยกรรมที่สมบูรณ์พลอยเสียไปด้วยไม่
เมื่อคำฟ้องของโจทก์และคำให้การของจำเลยมีประเด็นโต้เถียงกันในข้อไม่มีพยานรับรู้รองลายพิมพ์นิ้วมือของผู้ทำพินัยกรรมด้วย ดังนี้ตามปกติโจทก์ย่อมนำพยานเข้าสืบแสดงให้เห็นว่าผู้ทำพินัยกรรมมิได้ลงลายพิมพ์นิ้วมือต่อหน้าพยานผู้นั่งพินัยกรรมได้ แต่เมื่อโจทก์กลับจะขอสืบว่าลายพิมพ์นิ้วมือนั้นจะใช่ของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่ก่อนและจะขอสืบในประเด็นข้อนี้เพียงข้อเดียวเท่านั้น (รายงานพิจารณา 1 พ.ค.96) ดังนี้ก็เป็นอันว่าโจทก์ไม่ติดใจขอสืบพยานในประเด็นที่ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะได้พิมพ์ลายนิ้วมือต่อหน้าผู้นั่งพินัยกรรมหรือไม่ แต่จะขอสืบว่าลายพิมพ์นิ้วมือในพินัยกรรมมิใช่ของผู้ทำพินัยกรรมซึ่งโจทก์มิได้ตั้งประเด็นไว้ในฟ้องเลยเช่นนี้โจทก์สืบไม่ได้
ฎีกาที่ 1572/2492
ฎีกาที่ 982/2496

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1009/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมแก้ไขตกเติม & การสืบพยาน: โจทก์ต้องตั้งประเด็นเรื่องพินัยกรรมปลอมตั้งแต่แรก
ข้อขูดลบแก้ไขตกเติมในพินัยกรรมโดยมิได้ปฏิบัติตามแบบอย่างเดียวกับการทำพินัยกรรมตามความใน มาตรา 1656 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ วรรคสองนั้น ย่อมไม่สมบูรณ์เฉพาะส่วนที่ทำไม่ถูกต้องนั้นเท่านั้น หาทำให้พินัยกรรมที่สมบูรณ์พลอยเสียไปด้วยไม่
เมื่อคำฟ้องของโจทก์และคำให้การของจำเลยมีประเด็นโต้เถียงกันในข้อไม่มีพยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือของผู้ทำพินัยกรรมด้วย ดังนี้ตามปกติโจทก์ย่อมนำพยานเข้าสืบแสดงให้เห็นว่าผู้ทำพินัยกรรมมิได้ลงลายพิมพ์นิ้วมือต่อหน้าพยานผู้นั่งพินัยกรรมได้ แต่เมื่อโจทก์กลับจะขอสืบว่าลายพิมพ์นิ้วมือนั้นจะใช่ของผู้ทำพินัยกรรมหรือไม่ก่อนและจะขอสืบในประเด็นข้อนี้เพียงข้อเดียวเท่านั้น(รายงานพิจารณา 1 พ.ค. 96) ดังนี้ก็เป็นอันว่าโจทก์ไม่ติดใจขอสืบพยานในประเด็นที่ว่าผู้ทำพินัยกรรมจะได้พิมพ์ลายนิ้วมือต่อหน้าผู้นั่งพินัยกรรมหรือไม่ แต่จะขอสืบว่าลายพิมพ์นิ้วมือในพินัยกรรมมิใช่ของผู้ทำพินัยกรรมซึ่งโจทก์มิได้ตั้งประเด็นไว้ในฟ้องเลยเช่นนี้โจทก์สืบไม่ได้ ฎีกาที่ 1572/2492 ฎีกาที่ 982/2496
of 4