คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ว.จ. นิติสาตรไพสาล

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 239 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 917/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองปรปักสต่อเนื่องและการโอนสิทธิครอบครอง การส่งมอบทรัพย์สินเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอ
จำเลยได้ครอบครองปรปักสที่รายพิพาทต่อจากผู้ครอบครองคนก่อน ระยะเวลาย่อมนับรวมกัน การโอนสิทธิครอบครองระหว่างผู้ครอบครองเดิมกับจำเลยนั้นหาจำต้องทำเปนหนังสือและจดทะเบียนไม่เพียงแต่ส่งมอบทรัพย์สินที่ครอบครองเท่านั้นก็ไช้ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 915/2485

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การซื้อขายที่ดิน & หน้าที่การนำสืบพยานของจำเลย
โจทก์ฟ้องว่าซื้อที่จำเลยและครอบครองมา 10 ปีเศษ.จำเลยต่อสู้ว่ามิได้ขาย. แต่ได้ตกลงว่าโจทก์ทำนาได้เท่าใดต้องแบ่งครึ่ง. เช่นนี้เป็นหน้าที่จำเลยต้องนำสืบ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 915/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองปรปักษ์และการพิสูจน์ข้อตกลงแบ่งผลประโยชน์ จำเลยมีหน้าที่นำสืบเพื่อหักล้างสิทธิครอบครอง
โจทฟ้องว่าซื้อที่จำเลยและครอบครองมา 10 ปีเสสจำเลยต่อสู้ว่ามิได้ขาย แต่ได้ตกลงว่าโจททำนาได้เท่าไดต้องแบ่งครึ่ง เช่นนี้เปนหน้าที่จำเลยต้องนำสืบ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 902/2485

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์ในบ้านจากการซื้อขาย: โอนที่อำเภอได้กรรมสิทธิ์ทันที, โอนกันเองต้องครอบครองนาน
ที่บ้านซึ่งซื้อมาโดยทำการโอนกันต่อกรมการอำเภอตามระเบียบผู้ซื้อย่อมได้กรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย. โอนที่บ้านโดยทำสัญญากันเองผู้รับโอนจะต้องครอบครองถึง9-10 ปี จึงจะได้กรรมสิทธิ์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 902/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินและทรัพย์สินอื่นจากการโอนและการครอบครองตามกฎหมาย
ที่บ้านซึ่งซื้อมาโดยทำการโอนกันต่อกรมการอำเพอตามระเบียบผู้ซื้อย่อมได้กัมสิทธิตามกดหมายโอนที่บ้านโดยทำสัญญากันเองผู้รับโอนจะต้องครอบครองถึง 9-10 ปี จึงจะได้กัมสิทธิ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 899/2485

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การพิสูจน์การครอบครองโคที่ถูกลัก - การงดสืบพยานไม่ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์ฟ้องว่าโคของผู้เสียหายถูกคนร้ายลักหายไป 2 ตัว.ผู้เสียหายได้คืนจากจำเลย 1 ตัวโดยเสียค่าไถ่ โดยจำเลยได้ลักมาหรือได้รับไว้โดยรู้ว่าเป็นของได้มาจากการกระทำผิด.โจทก์นำสืบได้ความว่าโคเพริดหายไปจากทำเลเลี้ยงรุ่งขึ้นได้ทราบข่าวและต่อจากนั้นอีก 1 วัน เจ้าทรัพย์ก็ได้ไปไถ่คืนมาจากจำเลยแต่ได้คืนมาเพียง 1 ตัว. จำเลยผัดว่าอีก 2-3 วันให้ไปรับคืนอีกตัวหนึ่ง. ดังนี้ยังถือไม่ได้ว่าทางพิจารณาต่างกับฟ้อง. การที่ศาลชั้นต้นด่วนงดสืบพยานจำเลยแล้วพิพากษายกฟ้องไปนั้นเป็นการมิชอบควรพิจารณาต่อไปให้สิ้นกระแสความแล้วจึงวินิจฉัยไปตามรูปคดี.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 899/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรับของโจร: จำเลยต้องให้โอกาสสืบพยานเพื่อพิสูจน์ความรับผิด
กรนีที่ยังไม่งดสืบพะยานจำเลย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 895/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองทรัพย์สินเป็นหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ ผู้มีหน้าที่พิสูจน์ความเป็นเจ้าของ
กดหมายสันนิถานว่า ผู้ไดครอบครองทรัพย์นั้นหยู่ย่อมเปนของผู้นั้น ฉนั้นเมื่อมีผู้กล่าวอ้างว่าทรัพย์นั้นเปนของตน ก็มีหน้าที่ต้องนำสืบหักล้างข้อสันนิถานนั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 895/2485

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองทรัพย์สินเป็นหลักฐานการเป็นเจ้าของ ผู้กล่าวอ้างต้องพิสูจน์หักล้าง
กฎหมายสันนิษฐานว่า ผู้ใดครอบครองทรัพย์นั้นอยู่ย่อมเป็นของผู้นั้น. ฉะนั้นเมื่อมีผู้กล่าวอ้างว่าทรัพย์นั้นเป็นของตน ก็มีหน้าที่ต้องนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานนั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 894/2485

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตายของโจทก์หลังฎีกา: กระบวนการยุติธรรมและผู้ดำเนินคดี
ในคดีที่จำเลยฎีกา. แต่โจทก์ตายเสียก่อนรับสำเนาเพื่อแก้ฎีกา. ศาลฎีกาจะต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสอบถามว่าโจทก์ตายจริงหรือไม่ และใครจะเป็นผู้ดำเนินคดีต่อไป. ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2485.
of 24