พบผลลัพธ์ทั้งหมด 9 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1016/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สถานะสามีภริยาที่สิ้นสุดลงและการไม่มีสิทธิในมรดกเมื่อไม่ได้จดทะเบียนสมรส
ข้อเท็จจริงที่ศาลล่างวินิจฉัยมา เมื่อมิได้อุทธรณ์คัดค้านหรือมิได้แก้อุทธรณ์โต้แย้งไว้โดยชัดแจ้ง อันจะให้ถือได้ว่าได้ตั้งประเด็นคัดค้านไว้ ข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงต้องฟังเป็นยุติ จะฎีกาโต้เถียงต่อไปมิได้
โจทก์กับสามีเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ต่อมาสามีโจทก์ถูกจำคุก โจทก์ก็ไปมีสามีใหม่และมีบุตรด้วยกันเมื่อสามีโจทก์พ้นโทษก็ได้ภรรยาใหม่และมีบุตรด้วยกัน ดังนี้ เป็นการแสดงออกชัดแจ้งว่าต่างสมัครใจสละละทิ้งกันแล้ว ย่อมขาดจากการเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 51 ซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้นโดยไม่จำต้องทำพิธีหย่า เมื่อภรรยาใหม่ของสามีตาย โจทก์ได้กลับมาอยู่กินกับสามีอีกเป็นเวลาภายหลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ5 แล้ว โดยมิได้จดทะเบียนสมรส โจทก์จึงไม่เป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของสามี ไม่มีสิทธิรับมรดก
ทรัพย์ที่สามีได้มาก่อนที่โจทก์จะกลับมาอยู่กินกับสามีและทรัพย์ที่สามีโจทก์ได้รับมรดกมาเมื่อโจทก์ได้มาอยู่กินกับสามีครั้งหลัง ไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์กับสามีร่วมกันทำมาหาได้ โจทก์ไม่มีส่วนเป็นเจ้าของร่วม
โจทก์กับสามีเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ต่อมาสามีโจทก์ถูกจำคุก โจทก์ก็ไปมีสามีใหม่และมีบุตรด้วยกันเมื่อสามีโจทก์พ้นโทษก็ได้ภรรยาใหม่และมีบุตรด้วยกัน ดังนี้ เป็นการแสดงออกชัดแจ้งว่าต่างสมัครใจสละละทิ้งกันแล้ว ย่อมขาดจากการเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 51 ซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้นโดยไม่จำต้องทำพิธีหย่า เมื่อภรรยาใหม่ของสามีตาย โจทก์ได้กลับมาอยู่กินกับสามีอีกเป็นเวลาภายหลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ5 แล้ว โดยมิได้จดทะเบียนสมรส โจทก์จึงไม่เป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของสามี ไม่มีสิทธิรับมรดก
ทรัพย์ที่สามีได้มาก่อนที่โจทก์จะกลับมาอยู่กินกับสามีและทรัพย์ที่สามีโจทก์ได้รับมรดกมาเมื่อโจทก์ได้มาอยู่กินกับสามีครั้งหลัง ไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์กับสามีร่วมกันทำมาหาได้ โจทก์ไม่มีส่วนเป็นเจ้าของร่วม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1016/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดจากการเป็นสามีภริยา, การกลับมาอยู่กินกันโดยไม่จดทะเบียนสมรส, และสิทธิในมรดก
ข้อเท็จจริงที่ศาลล่างวินิจฉัยมา เมื่อมิได้อุทธรณ์คัดค้านหรือมิได้แก้อุทธรณ์โต้แย้งไว้โดยชัดแจ้ง อันจะให้ถือได้ว่าได้ตั้งประเด็นคัดค้านไว้ ข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงต้องฟังเป็นยุติ จะฎีกาโต้เถียงต่อไปมิได้
โจทก์กับสามีเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาสามีโจทก์ถูกจำคุก โจทก์ก็ไปมีสามีใหม่และมีบุตรด้วยกัน เมื่อสามีโจทก์พ้นโทษก็ได้ภรรยาใหม่และมีบุตรด้วยกัน ดังนี้ เป็นการแสดงออกชัดแจ้งว่าต่างสมัครใจสละละทิ้งกันแล้ว ย่อมขาดจากการเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 51 ซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้น โดยไม่จำต้องทำพิธีหย่า เมื่อภรรยาใหม่ของสามีตาย โจทก์ได้กลับมาอยู่กินกับสามีอีกเป็นเวลาภายหลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว โดยมิได้จดทะเบียนสมรส โจทก์จึงไม่เป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของสามี ไม่มีสิทธิรับมรดก
ทรัพย์ที่สามีได้มาก่อนที่โจทก์จะกลับมาอยู่กินกับสามีและทรัพย์ที่สามีโจทก์ได้รับมรดกมาเมื่อโจทก์ได้มาอยู่กินกับสามีครั้งหลัง ไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์กับสามีร่วมกันทำมาหาได้โจทก์ไม่มีส่วนเป็นเจ้าของร่วม
โจทก์กับสามีเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาสามีโจทก์ถูกจำคุก โจทก์ก็ไปมีสามีใหม่และมีบุตรด้วยกัน เมื่อสามีโจทก์พ้นโทษก็ได้ภรรยาใหม่และมีบุตรด้วยกัน ดังนี้ เป็นการแสดงออกชัดแจ้งว่าต่างสมัครใจสละละทิ้งกันแล้ว ย่อมขาดจากการเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 51 ซึ่งใช้อยู่ในขณะนั้น โดยไม่จำต้องทำพิธีหย่า เมื่อภรรยาใหม่ของสามีตาย โจทก์ได้กลับมาอยู่กินกับสามีอีกเป็นเวลาภายหลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว โดยมิได้จดทะเบียนสมรส โจทก์จึงไม่เป็นภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของสามี ไม่มีสิทธิรับมรดก
ทรัพย์ที่สามีได้มาก่อนที่โจทก์จะกลับมาอยู่กินกับสามีและทรัพย์ที่สามีโจทก์ได้รับมรดกมาเมื่อโจทก์ได้มาอยู่กินกับสามีครั้งหลัง ไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์กับสามีร่วมกันทำมาหาได้โจทก์ไม่มีส่วนเป็นเจ้าของร่วม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1036/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสภาพสามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย และผลกระทบต่อสิทธิในสินสมรสและมรดก
ในปี 2474 หรือ 2475 โจทก์ได้หนีตามชายชู้ไป และได้ชายอื่นเป็นสามีอีกหลายคน ส่วนสามีก็ได้ภรรยาใหม่หลายคน โจทก์กับสามีไม่ได้เกี่ยวข้องกันฉันสามีภรรยานับแต่นั้นเป็นต้นมา จนสามีถึงแก่กรรมและมูลกรณีดังว่านี้เกิดก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และ 6 จึงต้องปรับบทตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะนั้น พฤติการณ์ของโจทก์กับสามีจึงถือได้ว่าได้สละละทิ้งหย่าขาดกันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียไปก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และ 6 แล้ว โจทก์จึงไม่ได้เป็นทายาทของสามีและไม่มีสิทธิรับมรดก
บิดาของสามียกที่ดินให้สามีโดยไม่ได้โอนกันทางทะเบียน เป็นการยกให้ที่ยังไม่สมบูรณ์ ตามกฎหมายสามีจะได้กรรมสิทธิ์ก็ต่อเมื่อได้ครอบครองมาเป็นเวลา 10 ปี ในระหว่างที่สามีครอบครองที่ดินนั้นมายังไม่ครบ 10 ปี โจทก์กับสามีได้หย่าขาดกันเสียก่อนหลายปีแล้ว ที่ดินนั้นจึงไม่เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี
บิดาของสามียกที่ดินให้สามีโดยไม่ได้โอนกันทางทะเบียน เป็นการยกให้ที่ยังไม่สมบูรณ์ ตามกฎหมายสามีจะได้กรรมสิทธิ์ก็ต่อเมื่อได้ครอบครองมาเป็นเวลา 10 ปี ในระหว่างที่สามีครอบครองที่ดินนั้นมายังไม่ครบ 10 ปี โจทก์กับสามีได้หย่าขาดกันเสียก่อนหลายปีแล้ว ที่ดินนั้นจึงไม่เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1036/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสภาพสามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย และผลกระทบต่อสิทธิในสินสมรสและมรดก
ในปี 2474 หรือ 2475 โจทก์ได้หนีตามชายชู้ไป และได้ชายอื่นเป็นสามีอีกหลายคน ส่วนสามีก็ได้ภรรยาใหม่หลายคน โจทก์กับสามีไม่ได้เกี่ยวข้องกันฉันสามีภรรยานับแต่นั้นเป็นต้นมา จนสามีถึงแก่กรรมและมูลกรณีดังว่านี้เกิดก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และ 6 จึงต้องปรับบทตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะนั้น พฤติการณ์ของโจทก์กับสามีจึงถือได้ว่าได้สละละทิ้งหย่าขาดกันตามกฎหมายลักษณะผัวเมียไปก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และ 6 แล้ว โจทก์จึงไม่ได้เป็นทายาทของสามีและไม่มีสิทธิรับมรดก
บิดาของสามียกที่ดินให้สามีโดยไม่ได้โอนกันทางทะเบียนเป็นการยกให้ที่ยังไม่สมบูรณ์ ตามกฎหมายสามีจะได้กรรมสิทธิก็ต่อเมื่อได้ครอบครองมาเป็นเวลา 10 ปี ในระหว่างที่สามีครอบครองที่ดินนั้นมายังไม่ครบ 10 ปี โจทก์กับสามีได้หย่าขาดกันเสียก่อนหลายปีแล้ว ที่ดินนั้นจึงไม่เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี
บิดาของสามียกที่ดินให้สามีโดยไม่ได้โอนกันทางทะเบียนเป็นการยกให้ที่ยังไม่สมบูรณ์ ตามกฎหมายสามีจะได้กรรมสิทธิก็ต่อเมื่อได้ครอบครองมาเป็นเวลา 10 ปี ในระหว่างที่สามีครอบครองที่ดินนั้นมายังไม่ครบ 10 ปี โจทก์กับสามีได้หย่าขาดกันเสียก่อนหลายปีแล้ว ที่ดินนั้นจึงไม่เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1123/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดจากการเป็นสามีภริยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย: การแยกอยู่และการส่งเงินให้ใช้จ่าย
ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย การที่หญิงชายจะขาดจากการเป็นสามีภริยากัน ก็ด้วยการหย่าตามพิธีการ หรือมีพฤติการณ์ต้องตามที่กฎหมายกำหนดไว้ ฉะนั้น การที่ภริยาเพียงแต่แยกออกไปอยู่กับบิดามารดา แต่สามียังไปมาหาสู่ ทั้งยังส่งเงินให้ใช้จ่ายตลอดมานั้น ยังหาถือว่าได้ขาดจากการเป็นสามีภริยากันไม่ ภริยาจึงยังมีสิทธิรับบำนาญตกทอดของสามีด้วย
คำว่า "ร้าง" แปลว่าทอดทิ้งไว้ หรือ ไปจากเมื่อเอามาผสมกับคำว่า "เลิก" แล้ว ความหมายในเรื่องผัวเมียก็แปลได้ว่า ไม่ได้อยู่ร่วมกันหรือทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไว้เท่านั้น ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย การทิ้งเมียร้างไว้ยังไม่ขาดจากการเป็นสามีภริยากัน ยังจะต้องมีพฤติการณ์อย่างอื่นประกอบอีก
คำว่า "ร้าง" แปลว่าทอดทิ้งไว้ หรือ ไปจากเมื่อเอามาผสมกับคำว่า "เลิก" แล้ว ความหมายในเรื่องผัวเมียก็แปลได้ว่า ไม่ได้อยู่ร่วมกันหรือทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไว้เท่านั้น ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย การทิ้งเมียร้างไว้ยังไม่ขาดจากการเป็นสามีภริยากัน ยังจะต้องมีพฤติการณ์อย่างอื่นประกอบอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1123/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแยกอยู่กับสามีและการรับบำนาญตกทอด: การแยกกันอยู่ไม่ถือเป็นการขาดจากความเป็นสามีภริยา
ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย การที่หญิงชายจะขาดจากการเป็นสามีภริยากัน ก็ด้วยการหย่าตามพิธีการ หรือมีพฤติการณ์ต้องตามที่กฎหมายกำหนดไว้ ฉะนั้น การที่ภริยาเพียงแต่แยกออกไปอยู่กับบิดามารดา แต่สามียังไปมาหาสู่ ทั้งยังส่งเงินให้ใช้จ่ายตลอดมานั้น ยังหาถือว่าได้ขาดจากการเป็นสามีภริยากันไม่ภริยาจึงยังมีสิทธิรับบำนาญตกทอดของสามีด้วย
คำว่า "ร้าง" แปลว่าทอดทิ้งไว้ หรือ ไปจากเมื่อเอามาผสมกับคำว่า "เลิก" แล้ว ความหมายในเรื่องผัวเมียก็แปลได้ว่า ไม่ได้อยู่ร่วมกันหรือทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไว้เท่านั้น ตามกฎหมายลักษณะผัวเมียการทิ้งเมียร้างไว้ยังไม่ขาดจากการเป็นสามีภริยากันยังจะต้องมีพฤติการณ์อย่างอื่นประกอบอีก
คำว่า "ร้าง" แปลว่าทอดทิ้งไว้ หรือ ไปจากเมื่อเอามาผสมกับคำว่า "เลิก" แล้ว ความหมายในเรื่องผัวเมียก็แปลได้ว่า ไม่ได้อยู่ร่วมกันหรือทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไว้เท่านั้น ตามกฎหมายลักษณะผัวเมียการทิ้งเมียร้างไว้ยังไม่ขาดจากการเป็นสามีภริยากันยังจะต้องมีพฤติการณ์อย่างอื่นประกอบอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1294/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสภาพการสมรสโดยการแยกกันอยู่เป็นเวลานานและการสมรสใหม่ ย่อมทำให้การสมรสเดิมสิ้นสุดลงตามกฎหมาย
คดีพิพาทกันว่า ใครควรเป็นทายาทอันจะมีสิทธิรับบำนาญตกทอดของผู้ตายตาม พ.ร.บ. บำเหน็จบำนาญ พ.ศ. 2494 เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
สามีกับภรรยาคนแรกแยกจากกัน มิได้อยู่ร่วมกันฉันทก์สามีภรรยาทั่ว ๆ ไป เป็นเวลา 35-36 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม เมื่อภรรยาคนแรกแยกจากสามี ๆ ได้ภรรยาคนที่สองอยู่กินด้วยกันรวม 15 ปี ก็เลิกร้างกันไป แล้วสามีจึงได้จดทะเบียนสมรสกับภรรยาคนที่สามและอยู่กินร่วมกันประมาณ 20 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม และปรากฏว่าก่อนที่สามีจะแยกทางกับภรรยาคนแรก ได้มีเรื่องขึ้งโกรธกันขึ้น โดยภรรยาคนแรกประพฤตินอกใจสามี ่จึงต้องละทิ้งสามีไปเที่ยวอาศัยคนโน้นบ้าง คนนี้บ้าง ต่างฝ่ายต่างขาดการติดต่อซึ่งกันและกันฉันท์สามีภรรยา จนเป็นที่เห็นว่าทั้งสองหมดเยื่อใยต่อกัน พฤติการณ์ดังกล่าวถือว่า สามีและภรรยาคนแรกได้สมัครในหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้วตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 51 แม้มิได้ทำพิธีหย่าเป็นหนังสือ ก็เป็นการใช้ได้ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2502)
สามีกับภรรยาคนแรกแยกจากกัน มิได้อยู่ร่วมกันฉันทก์สามีภรรยาทั่ว ๆ ไป เป็นเวลา 35-36 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม เมื่อภรรยาคนแรกแยกจากสามี ๆ ได้ภรรยาคนที่สองอยู่กินด้วยกันรวม 15 ปี ก็เลิกร้างกันไป แล้วสามีจึงได้จดทะเบียนสมรสกับภรรยาคนที่สามและอยู่กินร่วมกันประมาณ 20 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม และปรากฏว่าก่อนที่สามีจะแยกทางกับภรรยาคนแรก ได้มีเรื่องขึ้งโกรธกันขึ้น โดยภรรยาคนแรกประพฤตินอกใจสามี ่จึงต้องละทิ้งสามีไปเที่ยวอาศัยคนโน้นบ้าง คนนี้บ้าง ต่างฝ่ายต่างขาดการติดต่อซึ่งกันและกันฉันท์สามีภรรยา จนเป็นที่เห็นว่าทั้งสองหมดเยื่อใยต่อกัน พฤติการณ์ดังกล่าวถือว่า สามีและภรรยาคนแรกได้สมัครในหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้วตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 51 แม้มิได้ทำพิธีหย่าเป็นหนังสือ ก็เป็นการใช้ได้ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1294/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสิ้นสุดสภาพสมรสโดยการแยกกันอยู่เป็นเวลานาน และการรับบำนาญตกทอดหลังการสมรสใหม่
คดีพิพาทกันว่า ใครควรเป็นทายาทอันจะมี สิทธิรับบำนาญตกทอดของผู้ตายตาม พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ พ.ศ.2494 เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
สามีกับภรรยาคนแรกแยกจากกัน มิได้อยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยาทั่วๆ ไป เป็นเวลา 35-36 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม เมื่อภรรยาคนแรกแยกจากสามีได้ภรรยาคนที่สองอยู่กินด้วยกันรวม 15 ปีก็เลิกร้างกันไป แล้วสามีจึงได้จดทะเบียนสมรสกับภรรยาคนที่สามและอยู่กินร่วมกันประมาณ 20 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรมและปรากฏว่าก่อนที่สามีจะแยกกับภรรยาคนแรก ได้มีเรื่องขึ้งโกรธกันขึ้นโดยภรรยาคนแรกประพฤตินอกใจสามี จึงต้องละทิ้งสามีไปเที่ยวอาศัยคนโน้นบ้าง คนนี้บ้าง ต่างฝ่ายต่างขาดการติดต่อซึ่งกันและกันฉันท์สามีภรรยา จนเป็นที่เห็นว่าทั้งสองหมดเยื่อใยต่อกัน พฤติการณ์ดังกล่าวถือว่า สามีและภรรยาคนแรกได้สมัครใจหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้วตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 51 แม้มิได้ทำพิธีหย่าเป็นหนังสือ ก็เป็นการใช้ได้ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2502)
สามีกับภรรยาคนแรกแยกจากกัน มิได้อยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยาทั่วๆ ไป เป็นเวลา 35-36 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรม เมื่อภรรยาคนแรกแยกจากสามีได้ภรรยาคนที่สองอยู่กินด้วยกันรวม 15 ปีก็เลิกร้างกันไป แล้วสามีจึงได้จดทะเบียนสมรสกับภรรยาคนที่สามและอยู่กินร่วมกันประมาณ 20 ปี จนกระทั่งสามีถึงแก่กรรมและปรากฏว่าก่อนที่สามีจะแยกกับภรรยาคนแรก ได้มีเรื่องขึ้งโกรธกันขึ้นโดยภรรยาคนแรกประพฤตินอกใจสามี จึงต้องละทิ้งสามีไปเที่ยวอาศัยคนโน้นบ้าง คนนี้บ้าง ต่างฝ่ายต่างขาดการติดต่อซึ่งกันและกันฉันท์สามีภรรยา จนเป็นที่เห็นว่าทั้งสองหมดเยื่อใยต่อกัน พฤติการณ์ดังกล่าวถือว่า สามีและภรรยาคนแรกได้สมัครใจหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้วตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 51 แม้มิได้ทำพิธีหย่าเป็นหนังสือ ก็เป็นการใช้ได้ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1006/2472
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดจากความเป็นสามีภรรยาและการฟ้องเรื่องชู้
ผัวเมียเหตุอย่า