พบผลลัพธ์ทั้งหมด 554 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1527/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญากู้: ข้อตกลงขัดต่อกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 655 เป็นโมฆะ
จำเลยกู้เงินโจทก์ไป โดยเอาที่ดินจำนองเป็นประกันหนี้ตกลงให้ดอกเบี้ยร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือน ส่งดอกเบี้ยทุกๆ เดือน ถ้าผู้กู้ผิดนัดไม่ส่งดอกเบี้ย ผู้กู้ยอมให้ดอกเบี้ยที่ค้างชำระทบเข้าเป็นต้นเงิน อันผู้กู้จะต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราเดียวกันดังนี้ เป็นการให้คิดดอกเบี้ยกันได้ทันทีที่ผู้กู้ผิดนัดไม่ชำระดอกเบี้ยเดือนที่ค้าง ข้อความที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยทบต้นตามสัญญากู้โดยการจำนองรายนี้ จึงฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 และเป็นโมฆะ(อ้างฎีกาที่ 543/2510) โจทก์จึงเรียกดอกเบี้ยทบต้นจากจำเลยไม่ได้คงคิดดอกเบี้ยได้อย่างธรรมดาในอัตราร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือน และเมื่อได้ตกลงกันชัดแจ้งเช่นนี้ จะถือว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาให้คิดดอกเบี้ยทบต้นในทันทีที่ผิดนัด และข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยทบต้น ไม่เป็นโมฆะหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1439/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงอนุญาโตตุลาการไม่ขัดแย้งกับการตกลงซ่อมรถโดยตรง โจทก์มีสิทธิฟ้องได้
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยระหว่างโจทก์จำเลยจะมีข้อความว่า'ข้อพิพาทใด ๆ ทั้งสิ้นอันเกิดขึ้นเนื่องจากกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้ ทั้งสองฝ่ายตกลงกันโดยชัดแจ้งว่า จะนำข้อพิพาทฟ้องร้องยังโรงศาลมิได้จะต้องมอบให้อนุญาโตตุลาการนายหนึ่งโดยแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรจากคู่กรณีเป็นผู้ตัดสิน' ก็ตาม แต่เมื่อเกิดเหตุแล้วไม่ปรากฏว่าโจทก์จำเลยได้เสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ โจทก์จำเลยได้ตกลงกันให้นำรถไปซ่อมที่อู่ที่คิดราคาค่าซ่อมต่ำสุด และโจทก์ได้ปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นแล้วตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่ได้ห้ามไม่ให้คู่กรณีตกลงกันเอง เมื่อโจทก์จำเลยได้ตกลงกันแล้วเช่นนี้ก็ไม่ต้องตั้งอนุญาโตตุลาการชี้ขาด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1439/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงอนุญาโตตุลาการไม่ขัดกับการตกลงซ่อมรถโดยตรง โจทก์มีสิทธิฟ้อง
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยระหว่างโจทก์จำเลยจะมีข้อความว่า "ข้อพิพาทใด ๆ ทั้งสิ้นอันเกิดขึ้นเนื่องจากกรมธรรม์ประกันภัยฉบับนี้ ทั้งสองฝ่ายตกลงกันโดยชัดแจ้งว่า จะนำข้อพิพาทฟ้องร้องยังโรงศาลมิได้ จะต้องมอบให้อนุญาโตตุลาการนายหนึ่งโดยแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรจากคู่กรณีเป็นผู้ตัดสิน" ก็ตาม แต่เมื่อเกิดเหตุแล้วไม่ปรากฏว่าโจทก์จำเลยได้เสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ โจทก์จำเลยได้ตกลงกันให้นำรถไปซ่อมที่อู่ที่คิดราคาค่าซ่อมต่ำสุด และโจทก์ได้ปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นแล้วตามกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวไม่ได้ห้ามไม่ให้คู่กรณีตกลงกันเอง เมื่อโจทก์จำเลยได้ตกลงกันแล้วเช่นนี้ก็ไม่ต้องตั้งอนุญาโตตุลาการชี้ขาด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการมรดกตามพินัยกรรมที่มีภาระผูกพัน และสิทธิของโรงพยาบาลศิริราชในการรับทรัพย์สิน
ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยทำพินัยกรรมมีข้อความในข้อ 1 ถึงข้อ 3 ยกที่ดินกับสิ่งปลูกสร้างให้จำเลยและผู้อื่น ข้อ 4 ว่า ทรัพย์สินอื่น ๆ นอกจากที่กล่าวแล้ว ขอยกให้จำเลยแต่ผู้เดียวและขอให้จัดการกุศลดังกล่าวต่อไป ข้อ 5 ทรัพย์สินที่เป็นเงินสด ให้จำเลยนำไปมอบแก่เจ้าอาวาสวัด ช. เพื่อซ่อมแซมพระอุโบสถ 50,000 บาท ข้อ 6 เงินสดที่เหลือจากที่กล่าวในข้อ 5 ให้จำเลยมอบให้แก่โรงพยาบาลศิริราชก่อตั้งเป็นมูลนิธิหรือจะสร้างเป็นตึกคนไข้ก็ได้ โดยปรึกษากับเจ้าหน้าที่คณะแพทย์ศาสตร์และศิริราชพยาบาล แม้พินัยกรรม ข้อ 4 ระบุว่า ยกทรัพย์สินอื่น ๆ นอกจากที่กล่าวในข้อ 1, 2, 3 ให้จำเลยแต่ผู้เดียวก็ตาม แต่จำเลยก็ตกอยู่ในภาระติดพันที่จะต้องนำเงินสดของผู้ตายที่เหลือจากจ่ายแล้วในข้อ 5 มอบให้แก่โรงพยาบาลศิริราชก่อตั้งเป็นมูลนิธิ พินัยกรรมข้อนี้จึงมีผลบังคับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1676 โรงพยาบาลศิริราชเป็นส่วนราชการส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์โจทก์ซึ่งเป็นนิติบุคคล โจทก์จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรม ข้อ 6 จำเลยไม่ยอมก่อตั้งมูลนิธิหรือร่วมมือกับโรงพยาบาลศิริราชในการตั้งมูลนิธิ โจทก์จึงเป็นผู้ร้องขอให้ก่อตั้งมูลนิธิได้ตามมาตรา 1677 และการก่อตั้งมูลนิธิตามมาตรา 81 นั้นในประการแรกจะต้องมีทรัพย์สินที่จัดสรรไว้ เมื่อจำเลยว่าไม่มีโจทก์สืบทราบว่ามี ก็ย่อมมีอำนาจฟ้องให้จำเลยส่งมอบเงินของผู้ตายเพื่อจัดตั้งเป็นมูลนิธิได้
แม้โจทก์ผู้มีส่วนได้เสียตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมจะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่ได้รู้หรือควรได้รู้ถึงสิทธิตามพินัยกรรม แต่จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลและจัดการมรดกยังไม่สิ้นสุด จำเลยก็ยกอายุความ 1 ปี ขึ้นเป็นข้อตัดฟ้องไม่ได้
แม้โจทก์จะมิได้นำสืบว่าผู้ตายมีสินเดิมอย่างใดบ้าง แต่ก็ได้นำสืบถึงฐานะของผู้ตายซึ่งรับราชการเป็นร้อยตำรวจตรีฐานะของนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรเมื่อปี พ.ศ. 2466 ย่อมเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าได้เงินเดือนสูงเพียงพอที่จะดำรงชีพได้อย่างสมเกียรติสิทธิที่ผู้ตายจะได้รับเงินเดือนก็เป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่ง จึงเชื่อได้ว่าผู้ตายมีสินเดิมก่อนสมรส
แม้โจทก์ผู้มีส่วนได้เสียตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมจะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่ได้รู้หรือควรได้รู้ถึงสิทธิตามพินัยกรรม แต่จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลและจัดการมรดกยังไม่สิ้นสุด จำเลยก็ยกอายุความ 1 ปี ขึ้นเป็นข้อตัดฟ้องไม่ได้
แม้โจทก์จะมิได้นำสืบว่าผู้ตายมีสินเดิมอย่างใดบ้าง แต่ก็ได้นำสืบถึงฐานะของผู้ตายซึ่งรับราชการเป็นร้อยตำรวจตรีฐานะของนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรเมื่อปี พ.ศ. 2466 ย่อมเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าได้เงินเดือนสูงเพียงพอที่จะดำรงชีพได้อย่างสมเกียรติสิทธิที่ผู้ตายจะได้รับเงินเดือนก็เป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่ง จึงเชื่อได้ว่าผู้ตายมีสินเดิมก่อนสมรส
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับตามพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้โรงพยาบาล การจัดการมรดก และการมีสิทธิรับเงินของผู้รับประโยชน์
ผู้ตายซึ่งเป็นสามีจำเลยทำพินัยกรรมมีข้อความในข้อ 1 ถึงข้อ 3 ยกที่ดินกับสิ่งปลูกสร้างให้จำเลยและผู้อื่น ข้อ 4 ว่า ทรัพย์สินอื่น ๆ นอกจากที่กล่าวแล้ว ขอยกให้จำเลยแต่ผู้เดียวและขอให้จัดการกุศลดังกล่าวต่อไป ข้อ 5 ทรัพย์สินที่เป็นเงินสด ให้จำเลยนำไปมอบแก่เจ้าอาวาสวัด ช. เพื่อซ่อมแซมพระอุโบสถ 50,000 บาท ข้อ 6 เงินสดที่เหลือจากที่กล่าวในข้อ 5 ให้จำเลยมอบให้แก่โรงพยาบาลศิริราชก่อตั้งเป็นมูลนิธิ หรือจะสร้างเป็นตึกคนไข้ก็ได้ โดยปรึกษากับเจ้าหน้าที่คณะแพทย์ศาสตร์และศิริราชพยาบาล แม้พินัยกรรม ข้อ 4 ระบุว่า ยกทรัพย์สินอื่น ๆ นอกจากที่กล่าวในข้อ 1, 2, 3 ให้จำเลยแต่ผู้เดียวก็ตาม แต่จำเลยก็ตกอยู่ในภาระติดพันที่จะต้อง นำเงินสดของผู้ตายที่เหลือจากจ่ายแล้วในข้อ 5 มอบให้แก่โรงพยาบาลศิริราชก่อตั้งเป็นมูลนิธิ พินัยกรรมข้อนี้จึงมีผลบังคับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1676 โรงพยาบาลศิริราชเป็นส่วนราชการส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์โจทก์ซึ่งเป็นนิติบุคคล โจทก์จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรม ข้อ 6 จำเลยไม่ยอมก่อตั้งมูลนิธิหรือร่วมมือกับโรงพยาบาลศิริราชในการตั้งมูลนิธิ โจทก์จึงเป็นผู้ร้องขอให้ก่อตั้งมูลนิธิได้ตามมาตรา 1677 และการก่อตั้งมูลนิธิตามมาตรา 81 นั้น ในประการแรกจะต้องมีทรัพย์สินที่จัดสรรไว้ เมื่อจำเลยว่าไม่มี โจทก์สืบทราบว่ามี ก็ย่อมมีอำนาจฟ้องให้จำเลยส่งมอบเงินของผู้ตายเพื่อจัดตั้งเป็นมูลนิธิได้
แม้โจทก์ผู้มีส่วนได้เสียตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมจะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่ได้รู้หรือควรได้รู้ถึงสิทธิตามพินัยกรรม แต่จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลและจัดการมรดกยังไม่สิ้นสุด จำเลยก็ยกอายุความ 1 ปี ขึ้นเป็นข้อตัดฟ้องไม่ได้
แม้โจทก์จะมิได้นำสืบว่าผู้ตายมีสินเดิมอย่างใดบ้างแต่ก็ได้นำสืบถึงฐานะของผู้ตายซึ่งรับราชการเป็นร้อยตำรวจตรีฐานะของนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรเมื่อปี พ.ศ. 2466 ย่อมเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าได้เงินเดือนสูงเพียงพอที่จะดำรงชีพได้อย่างสมเกียรติสิทธิที่ผู้ตายจะได้รับเงินเดือนก็เป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่ง จึงเชื่อได้ว่าผู้ตายมีสินเดิมก่อนสมรส
แม้โจทก์ผู้มีส่วนได้เสียตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมจะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่ได้รู้หรือควรได้รู้ถึงสิทธิตามพินัยกรรม แต่จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลและจัดการมรดกยังไม่สิ้นสุด จำเลยก็ยกอายุความ 1 ปี ขึ้นเป็นข้อตัดฟ้องไม่ได้
แม้โจทก์จะมิได้นำสืบว่าผู้ตายมีสินเดิมอย่างใดบ้างแต่ก็ได้นำสืบถึงฐานะของผู้ตายซึ่งรับราชการเป็นร้อยตำรวจตรีฐานะของนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรเมื่อปี พ.ศ. 2466 ย่อมเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่าได้เงินเดือนสูงเพียงพอที่จะดำรงชีพได้อย่างสมเกียรติสิทธิที่ผู้ตายจะได้รับเงินเดือนก็เป็นทรัพย์สินอย่างหนึ่ง จึงเชื่อได้ว่าผู้ตายมีสินเดิมก่อนสมรส
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 478/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกความและการพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือในคำท้าคดี ศาลฎีกายกคำพิพากษาเดิมเพื่อพิสูจน์หลักฐานเพิ่มเติม
โจทก์มรณะในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 1และทายาทอื่นต่างยื่นคำร้องขอรับมรดกความ การตั้งผู้รับมรดกความแทนผู้มรณะนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 43บัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจอนุญาตหรือไม่อนุญาตก็ได้โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและเหตุสมควรเป็นเรื่อง ๆ ไป หากศาลอนุญาตให้จำเลยที่ 1 เข้ารับมรดกความ ก็เท่ากับให้จำเลยที่ 1เข้าล้มคดีของโจทก์ตามชอบใจ ฉะนั้น การที่ศาลอุทธรณ์อนุญาตให้ทายาทอื่นเข้ารับมรดกความแทนโจทก์ จึงเป็นการชอบแล้ว
การแปลคำท้าของคู่ความ
การแปลคำท้าของคู่ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 478/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกความแทนผู้มรณะ คำท้าพิสูจน์ลายพิมพ์นิ้วมือ และผลของการพิสูจน์ต่อกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
โจทก์มรณะในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ จำเลยที่ 1และทายาทอื่นต่างยื่นคำร้องขอรับมรดกความ การตั้งผู้รับมรดกความแทนผู้มรณะนั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 43บัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจอนุญาตหรือไม่อนุญาตก็ได้โดยคำนึงถึงความเหมาะสมและเหตุสมควรเป็นเรื่อง ๆ ไป หากศาลอนุญาตให้จำเลยที่ 1 เข้ารับมรดกความ ก็เท่ากับให้จำเลยที่ 1 เข้าล้มคดีของโจทก์ตามชอบใจ ฉะนั้น การที่ศาลอุทธรณ์อนุญาตให้ทายาทอื่นเข้ารับมรดกความแทนโจทก์ จึงเป็นการชอบแล้ว
การแปลคำท้าของคู่ความ
การแปลคำท้าของคู่ความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 525/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาแท้จริงในสัญญายอมความ ศาลมีอำนาจบังคับตามเจตนาแม้ข้อความในสัญญาไม่ชัดเจน
ในกรณีที่คู่ความได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความไว้ต่อศาลเมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับข้อตกลงในสัญญาว่ามีความหมายตามเจตนาที่แท้จริงของคู่สัญญาอย่างไร ศาลมีอำนาจไต่สวนข้อเท็จจริงเพื่อตีความให้เป็นไปตามเจตนาที่แท้จริงของคู่สัญญา
ข้อความในสัญญายอมความ ซึ่งคู่สัญญาตกลงแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างกัน ระบุให้ห้องแถวไม้สองชั้น 10 ห้องเป็นของจำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 2 อ้างว่าข้อความดังกล่าวพิมพ์ตกคำว่า "พร้อมด้วยที่ดิน" ซึ่งตามเจตนาแท้จริงของคู่สัญญาหมายรวมถึงที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของห้องแถวนั้นด้วย เมื่อศาลเห็นว่า ตามเจตนาที่แท้จริงของคู่สัญญาหมายถึงห้องแถวดังกล่าวพร้อมด้วยที่ดินแล้วก็มีอำนาจบังคับคดีให้เป็นไปตามนั้น
ข้อความในสัญญายอมความ ซึ่งคู่สัญญาตกลงแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างกัน ระบุให้ห้องแถวไม้สองชั้น 10 ห้องเป็นของจำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 2 อ้างว่าข้อความดังกล่าวพิมพ์ตกคำว่า "พร้อมด้วยที่ดิน" ซึ่งตามเจตนาแท้จริงของคู่สัญญาหมายรวมถึงที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งของห้องแถวนั้นด้วย เมื่อศาลเห็นว่า ตามเจตนาที่แท้จริงของคู่สัญญาหมายถึงห้องแถวดังกล่าวพร้อมด้วยที่ดินแล้วก็มีอำนาจบังคับคดีให้เป็นไปตามนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1420/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารยกทรัพย์สินระหว่างมีชีวิต ไม่ใช่พินัยกรรม
เอกสารที่ผู้ตายทำไว้ไม่มีข้อความตอนใดที่แสดงให้เห็นว่าเป็นพินัยกรรมหรือแสดงถึงเจตนาของผู้ตายในการกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินว่า ให้เกิดผลบังคับเมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้วเลยแม้เอกสารดังกล่าวจะมีข้อความว่า 'เวลาทำหนังสือฉบับนี้มีสติสัมปชัญญะดีเป็นปกติดี' ก็ดี หรือ 'ขอเจตนาครั้งสุดท้าย' ก็ดีก็หาทำให้แปลความได้ว่าผู้ตายมีเจตนาที่จะยกทรัพย์ของตนให้เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้วไม่. ข้อความในตอนท้ายของเอกสารที่ว่า 'ข้าพเจ้าขอยกให้ (ระบุชื่อผู้รับ) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป'กลับแสดงแจ้งชัดว่าผู้ตายเจตนาที่จะยกทรัพย์ให้แก่ผู้รับทันทีในระหว่างที่ตนยังมีชีวิต เอกสารดังกล่าวจึงไม่ใช่พินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1420/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารยกทรัพย์ให้มีผลทันที ไม่ใช่พินัยกรรมที่บังคับใช้เมื่อเสียชีวิต
เอกสารที่ผู้ตายทำไว้ไม่มีข้อความตอนใดที่แสดงให้เห็นว่าเป็นพินัยกรรมหรือแสดงถึงเจตนาของผู้ตายในการ กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินว่า ให้เกิดผลบังคับเมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้วเลยแม้เอกสารดังกล่าวจะมีข้อความว่า 'เวลาทำหนังสือฉบับนี้มีสติสัมปชัญญะดีเป็นปกติดี' ก็ดี หรือ 'ขอเจตนาครั้งสุดท้าย' ก็ดีก็หาทำให้แปลความได้ว่าผู้ตายมีเจตนาที่จะยกทรัพย์ของตนให้เมื่อตนถึงแก่ความตายไปแล้วไม่ ข้อความในตอนท้ายของเอกสารที่ว่า 'ข้าพเจ้าขอยกให้ (ระบุชื่อผู้รับ) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป'กลับแสดงแจ้งชัดว่าผู้ตายเจตนาที่จะยกทรัพย์ให้แก่ผู้รับทันทีในระหว่างที่ตนยังมีชีวิต เอกสารดังกล่าวจึงไม่ใช่พินัยกรรม