พบผลลัพธ์ทั้งหมด 554 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ในระยะเวลา, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์. วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า. บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา. ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร. ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว. จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท. และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์.รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์. แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ. และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน. เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ระหว่างสัญญา, และวงเงินจำกัด
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม 2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้นและต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: ระยะเวลา, วงเงิน, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายกำหนดส่งมอบน้ำตาลทรายล่าช้า เบี้ยปรับสูงเกินไป ศาลลดหย่อนได้
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้น มีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี หากเปิดดำเนินการล่าช้า แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วัน ผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความสัญญาซื้อขายกำหนดส่งมอบ, การบอกสงวนสิทธิเรียกร้องค่าปรับ, และการลดเบี้ยปรับตามสมควร
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้นมีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปีหากเปิดดำเนินการล่าช้า แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507 จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วันผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้นศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรโดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับโจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้วทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้นศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรโดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200 กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับโจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้วทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วยย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 826/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความสัญญาซื้อขาย การบอกสงวนสิทธิ และการลดเบี้ยปรับที่สูงเกินส่วน
สัญญาซื้อขายซึ่งมีข้อความว่า ผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อภายใน 15 วัน หลังจากโรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี. และทั้งนี้ไม่ช้ากว่าวันที่ 31 ธันวาคม 2507 นั้น. มีความหมายว่าผู้ขายต้องส่งมอบน้ำตาลทรายแก่ผู้ซื้อให้ครบถ้วนภายใน 15 วันนับแต่วันที่โรงงานของผู้ขายเปิดดำเนินการหีบอ้อยประจำปี. หากเปิดดำเนินการล่าช้า. แม้นับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2507จะมีเวลาดำเนินการไม่ครบ 15 วัน. ผู้ขายก็จะต้องส่งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2507.
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น. ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร. โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้.
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา. จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ. โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว. ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วย.ย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง.
เบี้ยปรับที่สูงเกินส่วนนั้น. ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควร. โดยพิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนี้.
คำฟ้องของโจทก์ซึ่งบรรยายว่า จำเลยส่งมอบน้ำตาลทราย 200กระสอบแก่โจทก์เกินกำหนดระยะเวลาตามสัญญา. จำเลยมีหน้าที่ต้องรับผิดใช้เบี้ยปรับ. โจทก์และทนายโจทก์ได้แจ้งให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาแล้ว. ทั้งโจทก์ยังได้ส่งสำเนาสัญญาซื้อขายและสำเนาหนังสือทนายโจทก์มาท้ายฟ้องด้วย.ย่อมแสดงอยู่ในตัวว่าโจทก์ได้บอกสงวนสิทธิในการที่จะเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาจากจำเลย ไม่จำต้องกล่าวในคำฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า: การบอกเลิกสัญญาเนื่องจากผู้เช่าผิดนัด ไม่ทำให้เกิดสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการปรับปรุงสถานที่
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลัน. และมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันที. ส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า. ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯ. ดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า. ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตาม. ผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12.
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ. ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล. ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน. การที่โจทก์นำส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า. ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม. จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร. เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า. ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า. การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511).
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ. ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล. ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน. การที่โจทก์นำส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า. ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม. จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร. เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า. ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า. การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าชดใช้ค่าซ่อมแซมสถานที่เช่าเมื่อผู้เช่าผิดสัญญา และผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลันและมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันทีส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตามผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกันการที่โจทก์นำ ส. ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่าไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่าถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่าการสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกันการที่โจทก์นำ ส. ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่าไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่าถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่าการสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่า: สิทธิบอกเลิกสัญญาของผู้ให้เช่าเมื่อผู้เช่าผิดสัญญา และข้อยกเว้นการชดใช้ค่าเสียหาย
สัญญาข้อ 11 มีว่า ถ้าผู้เช่าผิดสัญญาข้อใดผู้ให้เช่ามีสิทธิเข้าครอบครองสถานที่เช่าได้โดยพลัน และมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทันที ส่วนสัญญาข้อ 12 มีว่า ถ้าผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาหรือรื้อถอนหรือขายทรัพย์สินที่เช่าก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า ผู้ให้เช่ายอมชดใช้ค่าซ่อมแซมและค่าเสียหายที่ผู้เช่าลงทุนเป็นจำนวนเงิน 25,000 บาทให้ผู้เช่า ฯลฯ ดังนี้เมื่อผู้เช่าผิดสัญญาไม่ชำระค่าเช่า ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญาตามข้อ 11 แล้วก็ตาม ผู้เช่าไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายค่าซ่อมแซมตามสัญญาข้อ 12
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน การที่โจทก์นำ ส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
ความประสงค์หรือเจตนาของคู่สัญญาต้องแปลจากสัญญาทั้งฉบับ ไม่ใช่ยกเอาข้อความเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งหรือสัญญาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาแปล ฉะนั้น การแปลข้อ 12 ของสัญญา ก็จะต้องแปลรวมกับข้อ 11 อันเป็นข้อความที่กล่าวถึงสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้เช่ากับผู้ให้เช่าที่มีต่อกัน การที่โจทก์นำ ส.ผู้เขียนเข้าเบิกความว่า ก่อนทำสัญญาโจทก์จำเลยตกลงกันว่าหากจำเลยบอกเลิกการเช่า ไม่ว่าจะเป็นเพราะโจทก์ผิดสัญญาหรือไม่ก็ตาม จำเลยจะต้องชดใช้เงินให้แก่โจทก์นั้น เป็นการนำพยานบุคคลเข้าสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสาร เพราะในสัญญาไม่ได้เขียนไว้เลยว่า ถึงแม้ผู้ให้เช่าบอกเลิกสัญญา เพราะผู้เช่าผิดสัญญา ผู้ให้เช่าก็ต้องชดใช้เงินให้แก่ผู้เช่า การสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารเช่นนี้ ต้องห้าม
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 476/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการไม่ชำระเบี้ยประกันภัยต่อการเลิกสัญญากรมธรรม์และการเรียกร้องค่าเสียหาย
เงื่อนไขแนบกรมธรรม์ประกันภัยมีข้อความว่า.'หากมิได้ชำระเบี้ยประกันให้บริษัทฯ ในงวดใด ก็ให้ยกกรมธรรม์ โดยไม่ต้องคุ้มครองในงวดนั้น. และผู้เอาประกันภัยไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ ทั้งสิ้น'. นั้นหมายความว่า ไม่ใช้กรมธรรม์ประกันภัยบังคับเอาแก่ผู้รับประกันภัยและผู้เอาประกันภัยในชั่วระยะนั้น. ซึ่งเสมือนหนึ่งเป็นการเลิกสัญญากรมธรรม์ประกันภัยชั่วคราว ในระยะที่ไม่ชำระเบี้ยประกันนั่นเอง.