พบผลลัพธ์ทั้งหมด 136 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้ยืมเงินที่ไม่ลงวันที่ ไม่เป็นโมฆะ หากมีหลักฐานชัดเจนการกู้ยืมและลายมือชื่อผู้กู้
แม้ในสัญญากู้ยืมเงินจะไม่ได้ลงวันที่ที่กู้ยืมไว้ แต่ก็มีข้อความชัดเจนว่าผู้กู้ได้กู้เงินไปและได้ลงลายมือชื่อผู้กู้เป็นสำคัญไว้แล้ว จึงเป็นหลักฐานการกู้ยืมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 ผู้ให้กู้ใช้ฟ้องร้องบังคับคดีได้ ไม่มีกฎหมายบังคับเรื่องแบบการทำสัญญากู้เงินไว้แต่อย่างใด สัญญากู้เงินนี้ไม่เป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเล่นแชร์: นายวงต้องรับผิดชอบใช้เงินแก่ลูกวงที่ยังไม่ได้ประมูลเมื่อวงล้ม
การเล่นแชร์เป็นสัญญาชนิดหนึ่งเกิดขึ้นจากความตกลงระหว่างผู้เล่น ไม่มีนักกฎหมายบังคับว่าจะต้องทำสัญญาหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ คงบังคับได้ตามหลักสัญญาทั่วไป เมื่อพฤติการณ์เป็นที่เข้าใจกันระหว่างผู้เล่นว่า จำเลยซึ่งเป็ฯนายวงตกลงยอมเป็นผู้รับผิดชอบใช้เงินแก่ลูกวงที่ยังไม่ได้ประมูล(เปีย)ในเมื่อวงแชร์ล้ม ดังนี้ เมื่อวงแชร์ล้มจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ ซึ่งเป็นลูกวงและยังมิได้ประมูล
หากจะมีมติของคณะรัฐมนตรีห้ามข้าราชการและพนักงานองค์การของรัฐเล่นแชร์จริง ก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบังคับบัญชาทางวินัยเท่านั้น การเล่นวงแชร์หาได้มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย หรือขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อันจะทำให้สัญญาตกเป็นโมฆะไม่
แม้โจทก์เปียแชร์วงอื่นซึ่งจำเลยเป็นนายวงได้ไปแล้วและโจทก์มีกำไรก็ตามก็เป็นเรื่องของแชร์วงนั้น ๆ จะให้นำกำไรนั้นมาหักออกจากนำนวนเงินที่โจทก์เสียหายและจำเลยต้องชดใช้ในวงพิพาทไม่ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างรายกัน ผู้เข้าเล่นแตกต่างกันไปทั้งจำนวนและผู้เข้าเล่นตลอดจนระยะเวลา
หากจะมีมติของคณะรัฐมนตรีห้ามข้าราชการและพนักงานองค์การของรัฐเล่นแชร์จริง ก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบังคับบัญชาทางวินัยเท่านั้น การเล่นวงแชร์หาได้มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย หรือขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อันจะทำให้สัญญาตกเป็นโมฆะไม่
แม้โจทก์เปียแชร์วงอื่นซึ่งจำเลยเป็นนายวงได้ไปแล้วและโจทก์มีกำไรก็ตามก็เป็นเรื่องของแชร์วงนั้น ๆ จะให้นำกำไรนั้นมาหักออกจากนำนวนเงินที่โจทก์เสียหายและจำเลยต้องชดใช้ในวงพิพาทไม่ได้ เพราะเป็นสัญญาต่างรายกัน ผู้เข้าเล่นแตกต่างกันไปทั้งจำนวนและผู้เข้าเล่นตลอดจนระยะเวลา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเล่นแชร์: นายวงมีหน้าที่รับผิดชอบเงินลูกวงที่ยังไม่ได้ประมูลเมื่อวงล้ม
การเล่นแชร์ เป็นสัญญาชนิดหนึ่งเกิดขึ้นจากความตกลงระหว่างผู้เล่น ไม่มีนักกฎหมายบังคับว่าจะต้องทำสัญญาหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ คงบังคับกันได้ตามหลักสัญญาทั่วไป เมื่อพฤติการณ์เป็นที่เข้าใจกันระหว่างผู้เล่นว่า จำเลยซึ่งเป็นนายวงตกลงยอมเป็นผู้รับผิดชอบใช้เงินแก่ลูกวงที่ยังไม่ได้ประมูล (เปีย) ในเมื่อวงแชร์ล้ม ดังนี้ เมื่อวงแชร์ล้มจำเลยก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ ซึ่งเป็นลูกวงและยังมิได้ประมูล
หากจะมีมติของคณะรัฐมนตรีห้ามข้าราชการและพนักงานองค์การของรัฐเล่นแชร์จริง ก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบังคับบัญชาทางวินัยเท่านั้นการเล่นวงแชร์หาได้มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย หรือขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อันจะทำให้สัญญาตกเป็นโมฆะไม่
แม้โจทก์เปียแชร์วงอื่นซึ่งจำเลยเป็นนายวงได้ไปแล้วและโจทก์มีกำไรก็ตามก็เป็นเรื่องของแชร์วงนั้น ๆ จะให้นำกำไรนั้นมาหักออกจากจำนวนเงินที่โจทก์เสียหายและจำเลยต้องชดใช้ในวงพิพาพไม่ได้เพราะเป็นสัญญาต่างรายกัน ผู้เข้าเล่นแตกต่างกันไปทั้งจำนวนและผู้เข้าเล่นตลอดจนระยะเวลา
หากจะมีมติของคณะรัฐมนตรีห้ามข้าราชการและพนักงานองค์การของรัฐเล่นแชร์จริง ก็เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบังคับบัญชาทางวินัยเท่านั้นการเล่นวงแชร์หาได้มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย หรือขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อันจะทำให้สัญญาตกเป็นโมฆะไม่
แม้โจทก์เปียแชร์วงอื่นซึ่งจำเลยเป็นนายวงได้ไปแล้วและโจทก์มีกำไรก็ตามก็เป็นเรื่องของแชร์วงนั้น ๆ จะให้นำกำไรนั้นมาหักออกจากจำนวนเงินที่โจทก์เสียหายและจำเลยต้องชดใช้ในวงพิพาพไม่ได้เพราะเป็นสัญญาต่างรายกัน ผู้เข้าเล่นแตกต่างกันไปทั้งจำนวนและผู้เข้าเล่นตลอดจนระยะเวลา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2518/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินตกเป็นโมฆะเมื่อไม่ได้จดทะเบียนโอน สิทธิเรียกร้องได้เฉพาะเงินคืนในฐานลาภมิควรได้
เมื่อข้อความในสัญญาแสดงถึงเจตนาของคู่สัญญาโดยชัดแจ้งว่ามุ่งประสงค์ต่อการซื้อขายที่ดินระหว่างกันเด็ดขาด ไม่มีความตอนใดแสดงให้เห็นถึงเจตนาว่าจะไปจดทะเบียนโอนที่ดินกันในภายหลัง กล่าวคือคู่สัญญาตกลงซื้อขายที่ดินกันเอง โดยมิได้คำนึงถึงการแบ่งแยกโฉนดและจดทะเบียนโอนที่ดินต่อกันแต่ประการใดกรณีเช่นนี้ ย่อมเป็นผลให้สัญญาดังกล่าวตกเป็นโมฆะเสียเปล่าไปและเมื่อสัญญาซื้อขายตกเป็นโมฆะ เงินราคาที่ดินซึ่งผู้ซื้อชำระต่อกันไปเสร็จแล้ว ผู้ซื้อชอบที่จะเรียกร้องเอาคืนจากผู้ขายได้ในฐานลาภมิควรได้ แต่ผู้ซื้อหามีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายใด ๆ จากผู้ขายได้ไม่ เพราะมิใช่เป็นผลจากการผิดสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2518/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินตกเป็นโมฆะเนื่องจากไม่ได้จดทะเบียนโอน และสิทธิในการเรียกเงินคืน
เมื่อข้อความในสัญญาแสดงถึงเจตนาของคู่สัญญาโดยชัดแจ้งว่ามุ่งประสงค์ต่อการซื้อขายที่ดินระหว่างกันเด็ดขาด ไม่มีความตอนใดแสดงให้เห็นถึงเจตนาว่าจะไปจดทะเบียนโอนที่ดินกันในภายหลัง กล่าวคือคู่สัญญาตกลงซื้อขายที่ดินกันเอง โดยมิได้คำนึงถึงการแบ่งแยกโฉนดและจดทะเบียนโอนที่ดินต่อกันแต่ประการใดกรณีเช่นนี้ ย่อมเป็นผลให้สัญญาดังกล่าวตกเป็นโมฆะเสียเปล่าไปและเมื่อสัญญาซื้อขายตกเป็นโมฆะ เงินราคาที่ดินซึ่งผู้ซื้อชำระต่อกันไปเสร็จแล้ว ผู้ซื้อชอบที่จะเรียกร้องเอาคืนจากผู้ขายได้ในฐานลาภมิควรได้ แต่ผู้ซื้อหามีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายใด ๆ จากผู้ขายได้ไม่ เพราะมิใช่เป็นผลจากการผิดสัญญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2345/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทน, การยกทรัพย์สิน, เหตุหย่าจากการทำร้ายร่างกายและหมิ่นประมาท, กรรมสิทธิ์ในเรือน
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เป็นบิดามารดาของจำเลยที่ 3 ได้สู่ขอโจทก์ให้เป็นภรรยาจำเลยที่ 3 ในการสู่ขอนั้นจำเลยที่ 1 กับที่ 2 ได้ตกลงจะยกที่นา 10 ไร่ให้โจทก์ เป็นการตอบแทนการที่โจทก์ยอมสมรสกับจำเลยที่ 3 จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งใช้บังคับกันได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 295/2491)
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2345/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนในการสู่ขอ, การโอนกรรมสิทธิ์เรือน, เหตุหย่าจากการหมิ่นประมาทและการทำร้ายร่างกาย
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เป็นบิดามารดาของจำเลยที่ 3 ได้สู่ขอโจทก์ให้เป็นภรรยาจำเลยที่ 3 ในการสู่ขอนั้นจำเลยที่ 1 กับที่ 2 ได้ตกลงจะยกที่นา 10 ไร่ให้โจทก์ เป็นการตอบแทนการที่โจทก์ยอมสมรสกับจำเลยที่ 3 จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทนซึ่งใช้บังคับกันได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 295/2491)
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
หลังจากโจทก์กับจำเลยที่ 3 สมรสกันแล้ว จำเลยที่1 กับที่ 2 ได้ปลูกเรือนพิพาทโดยเจตนาจะยกให้โจทก์กับจำเลยที่ 3 แต่มิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ยกให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525 เรือนพิพาทจึงยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 กับที่ 2 อยู่
จำเลยที่ 3 ด่าโจทก์และมารดาโจทก์ด้วยถ้อยคำหยาบคายเตะและตบทำร้ายร่างกายโจทก์ หมิ่นประมาทโจทก์ว่ามีชู้บุตรที่เกิดก็ว่าเกิดกับชู้ หมิ่นประมาทมารดาโจทก์ว่าเป็นหญิงสำส่อนให้ชาวบ้านร่วมประเวณี อันเป็นการหมิ่นประมาทอย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้โจทก์ฟ้องหย่าได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2239/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพราง: สัญญาขายฝากที่แท้จริงเป็นการกู้ยืมเงินโดยมีที่ดินเป็นประกัน
การที่โจทก์จำเลยจดทะเบียนสัญญาขายฝากที่ดินพิพาท ถ้าโจทก์จำเลยไม่มีเจตนาจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝาก สัญญานั้นก็เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 วรรคแรก
ก่อนทำสัญญาขายฝากก็ดี ขณะทำสัญญาขายฝากก็ดี ภายหลังทำสัญญาขายฝากก็ดีโจทก์จำเลยมิได้ตั้งใจจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝาก เป็นเรื่องที่จำเลยต้องการดอกเบี้ยเท่านั้นโดยจำเลยสัญญาจะไม่เอาที่ดินหลุดเป็นสิทธิ ถือได้ว่าโจทก์ทำสัญญาขายฝากอำพรางการจำนอง
การที่นิติกรรมอันหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งนิติกรรมอันแรกคือสัญญาขายฝากย่อมเป็นการแสดงเจตนาลวงด้วยสมรู้กันระหว่างคู่กรณี ที่จะไม่ผูกพันตามเจตนาที่แสดงออกมานั้น นิติกรรมอันแรกที่ปรากฏออกมานั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก ส่วนนิติกรรมอันหลังคือสัญญาจำนองที่ถูกอำพรางไว้โดยนิติกรรมอันแรก ต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยนิติกรรมที่ถูกอำพรางไว้ตามมาตรา 118 วรรค 2 เมื่อโจทก์จำเลยมีเจตนาทำสัญญาจำนองแล้วแต่การจำนองไม่ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย จึงเรียกไม่ได้ว่าเป็นการจำนอง เป็นเพียงการที่โจทก์กู้เงินจากจำเลย และให้ที่ดินแก่จำเลยยึดถือไว้เป็นประกัน และย่อมถือได้ว่าเอกสารการขายฝากที่โจทก์จำเลยทำไว้ ณสำนักงานที่ดิน เป็นนิติกรรมสัญญากู้เงินที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างโจทก์จำเลยนั้น ฉะนั้น เมื่อโจทก์ฟ้องขอนำเงินมาไถ่ถอนที่พิพาท ก็เท่ากับโจทก์ขอชำระหนี้เงินกู้ จำเลยมีหน้าที่รับชำระและคืนที่พิพาทที่เป็นประกันนั้นให้โจทก์ไป
ก่อนทำสัญญาขายฝากก็ดี ขณะทำสัญญาขายฝากก็ดี ภายหลังทำสัญญาขายฝากก็ดีโจทก์จำเลยมิได้ตั้งใจจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝาก เป็นเรื่องที่จำเลยต้องการดอกเบี้ยเท่านั้นโดยจำเลยสัญญาจะไม่เอาที่ดินหลุดเป็นสิทธิ ถือได้ว่าโจทก์ทำสัญญาขายฝากอำพรางการจำนอง
การที่นิติกรรมอันหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งนิติกรรมอันแรกคือสัญญาขายฝากย่อมเป็นการแสดงเจตนาลวงด้วยสมรู้กันระหว่างคู่กรณี ที่จะไม่ผูกพันตามเจตนาที่แสดงออกมานั้น นิติกรรมอันแรกที่ปรากฏออกมานั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก ส่วนนิติกรรมอันหลังคือสัญญาจำนองที่ถูกอำพรางไว้โดยนิติกรรมอันแรก ต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยนิติกรรมที่ถูกอำพรางไว้ตามมาตรา 118 วรรค 2 เมื่อโจทก์จำเลยมีเจตนาทำสัญญาจำนองแล้วแต่การจำนองไม่ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย จึงเรียกไม่ได้ว่าเป็นการจำนอง เป็นเพียงการที่โจทก์กู้เงินจากจำเลย และให้ที่ดินแก่จำเลยยึดถือไว้เป็นประกัน และย่อมถือได้ว่าเอกสารการขายฝากที่โจทก์จำเลยทำไว้ ณสำนักงานที่ดิน เป็นนิติกรรมสัญญากู้เงินที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างโจทก์จำเลยนั้น ฉะนั้น เมื่อโจทก์ฟ้องขอนำเงินมาไถ่ถอนที่พิพาท ก็เท่ากับโจทก์ขอชำระหนี้เงินกู้ จำเลยมีหน้าที่รับชำระและคืนที่พิพาทที่เป็นประกันนั้นให้โจทก์ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2239/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพราง: สัญญาขายฝากที่แท้จริงเป็นการจำนอง แม้ไม่ได้จดทะเบียน ศาลสั่งให้จำเลยรับเงินไถ่ถอน
การที่โจทก์จำเลยจดทะเบียนสัญญาขายฝากที่ดินพิพาทถ้าโจทก์จำเลยไม่มีเจตนาจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝากสัญญานั้นก็เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 118 วรรคแรก
ก่อนทำสัญญาขายฝากก็ดี ขณะทำสัญญาขายฝากก็ดีภายหลังทำสัญญาขายฝากก็ดีโจทก์จำเลยมิได้ตั้งใจจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝาก เป็นเรื่องที่จำเลยต้องการดอกเบี้ยเท่านั้นโดยจำเลยสัญญาจะไม่เอาที่ดินหลุดเป็นสิทธิ ถือได้ว่าโจทก์ทำสัญญาขายฝากอำพรางการจำนอง
การที่นิติกรรมอันหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งนิติกรรมอันแรกคือสัญญาขายฝากย่อมเป็นการแสดงเจตนาลวงด้วยสมรู้กันระหว่างคู่กรณี ที่จะไม่ผูกพันตามเจตนาที่แสดงออกมานั้น นิติกรรมอันแรกที่ปรากฏออกมานั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก ส่วนนิติกรรมอันหลังคือสัญญาจำนองที่ถูกอำพรางไว้โดยนิติกรรมอันแรกต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยนิติกรรมที่ถูกอำพรางไว้ตามมาตรา 118 วรรค 2 เมื่อโจทก์จำเลยมีเจตนาทำสัญญาจำนองแล้วแต่การจำนองไม่ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย จึงเรียกไม่ได้ว่าเป็นการจำนอง เป็นเพียงการที่โจทก์กู้เงินจากจำเลย และให้ที่ดินแก่จำเลยยึดถือไว้เป็นประกัน และย่อมถือได้ว่าเอกสารการขายฝากที่โจทก์จำเลยทำไว้ ณสำนักงานที่ดิน เป็นนิติกรรมสัญญากู้เงินที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างโจทก์จำเลยนั้น ฉะนั้น เมื่อโจทก์ฟ้องขอนำเงินมาไถ่ถอนที่พิพาท ก็เท่ากับโจทก์ขอชำระหนี้เงินกู้จำเลยมีหน้าที่รับชำระและคืนที่พิพาทที่เป็นประกันนั้นให้โจทก์ไป
ก่อนทำสัญญาขายฝากก็ดี ขณะทำสัญญาขายฝากก็ดีภายหลังทำสัญญาขายฝากก็ดีโจทก์จำเลยมิได้ตั้งใจจะผูกพันกันตามสัญญาขายฝาก เป็นเรื่องที่จำเลยต้องการดอกเบี้ยเท่านั้นโดยจำเลยสัญญาจะไม่เอาที่ดินหลุดเป็นสิทธิ ถือได้ว่าโจทก์ทำสัญญาขายฝากอำพรางการจำนอง
การที่นิติกรรมอันหนึ่งทำขึ้นเพื่ออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งนิติกรรมอันแรกคือสัญญาขายฝากย่อมเป็นการแสดงเจตนาลวงด้วยสมรู้กันระหว่างคู่กรณี ที่จะไม่ผูกพันตามเจตนาที่แสดงออกมานั้น นิติกรรมอันแรกที่ปรากฏออกมานั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118 วรรคแรก ส่วนนิติกรรมอันหลังคือสัญญาจำนองที่ถูกอำพรางไว้โดยนิติกรรมอันแรกต้องบังคับตามบทบัญญัติว่าด้วยนิติกรรมที่ถูกอำพรางไว้ตามมาตรา 118 วรรค 2 เมื่อโจทก์จำเลยมีเจตนาทำสัญญาจำนองแล้วแต่การจำนองไม่ได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย จึงเรียกไม่ได้ว่าเป็นการจำนอง เป็นเพียงการที่โจทก์กู้เงินจากจำเลย และให้ที่ดินแก่จำเลยยึดถือไว้เป็นประกัน และย่อมถือได้ว่าเอกสารการขายฝากที่โจทก์จำเลยทำไว้ ณสำนักงานที่ดิน เป็นนิติกรรมสัญญากู้เงินที่ทำเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่างโจทก์จำเลยนั้น ฉะนั้น เมื่อโจทก์ฟ้องขอนำเงินมาไถ่ถอนที่พิพาท ก็เท่ากับโจทก์ขอชำระหนี้เงินกู้จำเลยมีหน้าที่รับชำระและคืนที่พิพาทที่เป็นประกันนั้นให้โจทก์ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1771/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมือง: การเขียนวันที่เพิ่มเติมไม่ถือตกเติม/เปลี่ยนแปลง หากระบุผู้รับทรัพย์ชัดเจน
พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองซึ่งมีข้อความอื่นเป็นตัวพิมพ์ทั้งสิ้นแต่เว้นช่องวันที่ที่ทำพินัยกรรมว่างไว้ และมีการเขียนเลข 16ซึ่งเป็นวันที่ที่ทำพินัยกรรมลงไป ดังนี้ ไม่ถือว่าเป็นการตกเติมหรือเปลี่ยนแปลงซึ่งพินัยกรรม จึงไม่จำต้องมีผู้ทำพินัยกรรม พยานและกรมการอำเภอลงลายมือชื่อกำกับเลข 16 ดังที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1658 วรรคท้าย
ข้อความในพินัยกรรมข้อ 1 ระบุว่ายกทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมและข้อ 2 ระบุว่าขอมอบพินัยกรรมฉบับนี้แก่จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าพินัยกรรมได้กำหนดบุคคลที่ทราบตัวแน่นอนให้ไว้แล้ว ว่าให้จำเลยเป็นผู้รับพินัยกรรม
ข้อความในพินัยกรรมข้อ 1 ระบุว่ายกทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมและข้อ 2 ระบุว่าขอมอบพินัยกรรมฉบับนี้แก่จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าพินัยกรรมได้กำหนดบุคคลที่ทราบตัวแน่นอนให้ไว้แล้ว ว่าให้จำเลยเป็นผู้รับพินัยกรรม