พบผลลัพธ์ทั้งหมด 136 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1771/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองสมบูรณ์ แม้มีช่องวันที่ว่างและมีการเขียนวันที่ลงไปภายหลัง หากเจตนาทำพินัยกรรมชัดเจนและระบุผู้รับประโยชน์
พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมืองซึ่งมีข้อความอื่นเป็นตัวพิมพ์ทั้งสิ้นแต่เว้นช่องวันที่ที่ทำพินัยกรรมว่างไว้ และมีการเขียนเลข 16 ซึ่งเป็นวันที่ที่ทำพินัยกรรมลงไป ดังนี้ ไม่ถือว่าเป็นการตก เติม หรือเปลี่ยนแปลงซึ่งพินัยกรรม จึงไม่จำต้องมีผู้ทำพินัยกรรม พยาน และกรมการอำเภอลงลายมือชื่อกำกับเลข 16 ดังที่บัญญัติไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1658 วรรคท้าย
ข้อความในพินัยกรรมข้อ 1 ระบุว่ายกทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมและข้อ 2 ระบุว่าขอมอบพินัยกรรมฉบับนี้แก่จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าพินัยกรรมได้กำหนดบุคคลที่ทราบตัวแน่นอนให้ไว้แล้ว ว่าให้จำเลยเป็นผู้รับพินัยกรรม
ข้อความในพินัยกรรมข้อ 1 ระบุว่ายกทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แก่ผู้ที่ได้ระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมและข้อ 2 ระบุว่าขอมอบพินัยกรรมฉบับนี้แก่จำเลย ดังนี้ ถือได้ว่าพินัยกรรมได้กำหนดบุคคลที่ทราบตัวแน่นอนให้ไว้แล้ว ว่าให้จำเลยเป็นผู้รับพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 795/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความเป็นสัญญาต่างตอบแทน แม้มิได้จดทะเบียนก็สมบูรณ์ บังคับได้ อายุความ 10 ปี
บ.โจทก์ในคดีหนึ่งนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยโจทก์ร้องขัดทรัพย์แล้วได้มีการประนีประนอมยอมความกัน โดยโจทก์ยอมให้เงิน บ. 5,000 บาท บ. ยอมถอนการยึดทรัพย์และจำเลยยอมยกที่ดินพิพาทให้โจทก์ สัญญาที่จำเลยยกที่ดินพิพาทให้โจทก์จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทน เพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างบุคคลสามฝ่าย มิใช่สัญญาที่จำเลยยกที่ดินพิพาทให้โจทก์โดยเสน่หา แม้มิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็เป็นสัญญาที่สมบูรณ์บังคับได้
เมื่อสัญญายกที่ดินพิพาทให้โจทก์เป็นสัญญาต่างตอบแทนจำเลยย่อมไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญา นอกจากโจทก์ยินยอมด้วยหรือโจทก์ผิดสัญญาหรือมีเหตุอื่นที่กฎหมายให้อำนาจจำเลยบอกเลิกได้ แม้โจทก์จะเกี่ยงให้จำเลยเป็นผู้เสียค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินทั้งหมด ก็ไม่ทำให้จำเลยมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เมื่อจำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญาโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาต่างตอบแทนนั้น อันมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี แม้ที่ดินพิพาทจะเป็นที่ดินมือเปล่า ก็ไม่ทำให้กำหนดอายุความในกรณีนี้เปลี่ยนแปลงไป เพราะมิใช่กรณีแย่งการครอบครอง
เมื่อสัญญายกที่ดินพิพาทให้โจทก์เป็นสัญญาต่างตอบแทนจำเลยย่อมไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญา นอกจากโจทก์ยินยอมด้วยหรือโจทก์ผิดสัญญาหรือมีเหตุอื่นที่กฎหมายให้อำนาจจำเลยบอกเลิกได้ แม้โจทก์จะเกี่ยงให้จำเลยเป็นผู้เสียค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินทั้งหมด ก็ไม่ทำให้จำเลยมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เมื่อจำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญาโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาต่างตอบแทนนั้น อันมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี แม้ที่ดินพิพาทจะเป็นที่ดินมือเปล่า ก็ไม่ทำให้กำหนดอายุความในกรณีนี้เปลี่ยนแปลงไป เพราะมิใช่กรณีแย่งการครอบครอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 795/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความเป็นสัญญาต่างตอบแทน แม้ไม่ได้จดทะเบียนก็สมบูรณ์ บังคับได้ อายุความฟ้องร้อง 10 ปี
บ.โจทก์ในคดีหนึ่งนำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยโจทก์ร้องขัดทรัพย์แล้วได้มีการประนีประนอมยอมความกันโดยโจทก์ยอมให้เงิน บ. 5,000 บาท บ. ยอมถอนการยึดทรัพย์และจำเลยยอมยกที่ดินพิพาทให้โจทก์ สัญญาที่จำเลยยกที่ดินพิพาทให้โจทก์จึงเป็นสัญญาต่างตอบแทน เพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างบุคคลสามฝ่าย มิใช่สัญญาที่จำเลยยกที่ดินพิพาทให้โจทก์โดยเสน่หา แม้มิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็เป็นสัญญาที่สมบูรณ์บังคับได้
เมื่อสัญญายกที่ดินพิพาทให้โจทก์เป็นสัญญาต่างตอบแทนจำเลยย่อมไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญา นอกจากโจทก์ยินยอมด้วยหรือโจทก์ผิดสัญญาหรือมีเหตุอื่นที่กฎหมายให้อำนาจจำเลยบอกเลิกได้แม้โจทก์จะเกี่ยงให้จำเลยเป็นผู้เสียค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินทั้งหมดก็ไม่ทำให้จำเลยมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เมื่อจำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญาโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาต่างตอบแทนนั้นอันมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี แม้ที่ดินพิพาทจะเป็นที่ดินมือเปล่าก็ไม่ทำให้กำหนดอายุความในกรณีนี้เปลี่ยนแปลงไป เพราะมิใช่กรณีแย่งการครอบครอง
เมื่อสัญญายกที่ดินพิพาทให้โจทก์เป็นสัญญาต่างตอบแทนจำเลยย่อมไม่มีสิทธิบอกเลิกสัญญา นอกจากโจทก์ยินยอมด้วยหรือโจทก์ผิดสัญญาหรือมีเหตุอื่นที่กฎหมายให้อำนาจจำเลยบอกเลิกได้แม้โจทก์จะเกี่ยงให้จำเลยเป็นผู้เสียค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินทั้งหมดก็ไม่ทำให้จำเลยมีสิทธิบอกเลิกสัญญา เมื่อจำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญาโจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญาต่างตอบแทนนั้นอันมีอายุความฟ้องร้อง 10 ปี แม้ที่ดินพิพาทจะเป็นที่ดินมือเปล่าก็ไม่ทำให้กำหนดอายุความในกรณีนี้เปลี่ยนแปลงไป เพราะมิใช่กรณีแย่งการครอบครอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 784/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ที่ดินของรัฐ - ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ - การซื้อขายไม่สุจริต - สิทธิในที่ดิน
กรมพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวังซื้อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล ลงชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดในนามสำนักพระราชวัง โดยใช้เงินจากบัญชีประกันอัคคีภัย ซึ่งเป็นเงินผลประโยชน์ในการที่กรมพระคลังข้างที่รับประกันภัยทรัพย์สินในความดูแลจัดการของตนเอง และมีข้ออาณัติซึ่งได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตขึ้นใช้บังคับบัญชีประกันอัคคีภัยนั้น แยกไว้เป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากบัญชีผลประโยชน์ทั้งหลายในกรมพระคลังข้างที่ และได้จัดเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ นับแต่ได้ออกพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์แล้ว เมื่อที่ดินพิพาทได้จากเอาเงินในบัญชีประกันอัคคีภัยไปซื้อย่อมถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ.2479 การขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมพระคลังข้างที่ หรือสำนักงานพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวัง นั้น เป็นราชการแผ่นดิน จำเป็นจะต้องมีพระบรมราชานุญาตให้ขายเสียก่อนจึงจะขายได้และพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตนั้น จะต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามความในมาตรา 57 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลาที่มีการขาย
พระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ขายที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 1 มีบันทึกของเจ้าหน้าที่ปะหน้าพระราชหัตถเลขาและมีรัฐมนตรีผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรีในสำนักพระราชวังสมัยนั้น เขียนคำว่า 'ทราบ' และเซ็นชื่อไว้ข้างใต้คำว่าทราบในบันทึกของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมีลักษณะเป็นการเซ็นรับทราบรายงานของเจ้าหน้าที่เท่านั้น ไม่มีข้อความใดแสดงว่าเป็นการรับสนองพระบรมราชโองการเลย จึงหาเป็นการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบตามรัฐธรรมนูญไม่
จำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทและได้รับโอนกรรมสิทธิ์แล้ว แม้ว่าการซื้อขายเป็นไปโดยไม่สมบูรณ์ถูกต้อง จำเลยที่ 1 ก็ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยสงบและเปิดเผยตลอดมา ได้รื้อสิ่งปลูกสร้างเดิมออกแล้วปลูกตึกแทน แม้จำเลยที่ 1 จะเคยมีหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานพระมหากรุณาขอให้งดเว้นการเรียกที่ดินคืน ก็ไม่มีลักษณะเป็นการยอมรับอำนาจโจทก์เหนือที่ดิน เป็นแต่การให้เหตุผลโต้แย้งหนังสือของโจทก์ที่เรียกที่ดินคืนเท่านั้นพฤติการณ์ที่จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทดังกล่าวแล้วจึงเป็นการครอบครองปรปักษ์ต่อโจทก์
ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479 มาตรา 7 ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่โดยได้รับพระบรมราชานุมัติเพื่อสาธารณประโยชน์หรือเพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2491 มาตรา 8 เป็นว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อันได้มีกฎหมายให้โอนหรือจำหน่ายได้เท่านั้น ดังนี้ผู้ใดจะได้ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปเป็นกรรมสิทธิ์ย่อมจะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวแล้วแต่ประการเดียว ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษยกเว้นกฎหมายทั่วไปจะอ้างการครอบครองปรปักษ์ขึ้นใช้ยันสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หาได้ไม่
ขณะที่มีการโอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ที่ดินพิพาทอยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ แต่ต่อมามีพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479ให้โอนทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปอยู่ในความดูแลรักษาของโจทก์ซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทด้วย โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
จำเลยที่ 1 เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการสำนักพระราชวัง และต่อมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพระคลังข้างที่ ขณะซื้อที่ดินพิพาท จำเลยที่ 1 ยังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองด้วย ซึ่งรู้ดีว่ามีการตั้งกระทู้ถามในสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการซื้อขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่าเป็นไปโดยไม่สุจริตเมื่อปี 2480 จนรัฐบาลสมัยนั้นต้องตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาสอบสวนและเรียกที่ดินคืน 36 ราย ซึ่งรวมทั้งที่ดินพิพาทด้วย การที่จำเลยที่ 1 ปลูกสร้างตึกในที่ดินพิพาทเมื่อปี 2481 จึงเป็นการทำไปทั้งๆ ที่รู้ว่าที่ดินยังไม่เป็นสิทธิของจำเลยโดยสมบูรณ์ ถือไม่ได้ว่าเป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 แต่กรณีต้องด้วยมาตรา 1311(วรรค 2,3,4 และ 5 วินิจฉัยในที่ประชุมครั้งที่ 8-9/2516)
ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ.2479 การขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมพระคลังข้างที่ หรือสำนักงานพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวัง นั้น เป็นราชการแผ่นดิน จำเป็นจะต้องมีพระบรมราชานุญาตให้ขายเสียก่อนจึงจะขายได้และพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตนั้น จะต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามความในมาตรา 57 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลาที่มีการขาย
พระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ขายที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 1 มีบันทึกของเจ้าหน้าที่ปะหน้าพระราชหัตถเลขาและมีรัฐมนตรีผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรีในสำนักพระราชวังสมัยนั้น เขียนคำว่า 'ทราบ' และเซ็นชื่อไว้ข้างใต้คำว่าทราบในบันทึกของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมีลักษณะเป็นการเซ็นรับทราบรายงานของเจ้าหน้าที่เท่านั้น ไม่มีข้อความใดแสดงว่าเป็นการรับสนองพระบรมราชโองการเลย จึงหาเป็นการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบตามรัฐธรรมนูญไม่
จำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทและได้รับโอนกรรมสิทธิ์แล้ว แม้ว่าการซื้อขายเป็นไปโดยไม่สมบูรณ์ถูกต้อง จำเลยที่ 1 ก็ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยสงบและเปิดเผยตลอดมา ได้รื้อสิ่งปลูกสร้างเดิมออกแล้วปลูกตึกแทน แม้จำเลยที่ 1 จะเคยมีหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานพระมหากรุณาขอให้งดเว้นการเรียกที่ดินคืน ก็ไม่มีลักษณะเป็นการยอมรับอำนาจโจทก์เหนือที่ดิน เป็นแต่การให้เหตุผลโต้แย้งหนังสือของโจทก์ที่เรียกที่ดินคืนเท่านั้นพฤติการณ์ที่จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทดังกล่าวแล้วจึงเป็นการครอบครองปรปักษ์ต่อโจทก์
ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479 มาตรา 7 ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่โดยได้รับพระบรมราชานุมัติเพื่อสาธารณประโยชน์หรือเพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2491 มาตรา 8 เป็นว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อันได้มีกฎหมายให้โอนหรือจำหน่ายได้เท่านั้น ดังนี้ผู้ใดจะได้ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปเป็นกรรมสิทธิ์ย่อมจะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวแล้วแต่ประการเดียว ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษยกเว้นกฎหมายทั่วไปจะอ้างการครอบครองปรปักษ์ขึ้นใช้ยันสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หาได้ไม่
ขณะที่มีการโอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ที่ดินพิพาทอยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ แต่ต่อมามีพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479ให้โอนทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปอยู่ในความดูแลรักษาของโจทก์ซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทด้วย โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
จำเลยที่ 1 เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการสำนักพระราชวัง และต่อมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพระคลังข้างที่ ขณะซื้อที่ดินพิพาท จำเลยที่ 1 ยังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองด้วย ซึ่งรู้ดีว่ามีการตั้งกระทู้ถามในสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการซื้อขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่าเป็นไปโดยไม่สุจริตเมื่อปี 2480 จนรัฐบาลสมัยนั้นต้องตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาสอบสวนและเรียกที่ดินคืน 36 ราย ซึ่งรวมทั้งที่ดินพิพาทด้วย การที่จำเลยที่ 1 ปลูกสร้างตึกในที่ดินพิพาทเมื่อปี 2481 จึงเป็นการทำไปทั้งๆ ที่รู้ว่าที่ดินยังไม่เป็นสิทธิของจำเลยโดยสมบูรณ์ ถือไม่ได้ว่าเป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 แต่กรณีต้องด้วยมาตรา 1311(วรรค 2,3,4 และ 5 วินิจฉัยในที่ประชุมครั้งที่ 8-9/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 784/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ การครอบครองปรปักษ์ และการชดใช้ค่าเสียหายจากการปลูกสร้าง
กรมพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวังซื้อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล ลงชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดในนามสำนักพระราชวังโดยใช้เงินจากบัญชีประกันอัคคีภัย ซึ่งเป็นเงินผลประโยชน์ในการที่กรมพระคลังข้างที่รับประกันภัยทรัพย์สินในความดูแลจัดการของตนเองและมีข้ออาณัติซึ่งได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตขึ้นใช้บังคับบัญชีประกันอัคคีภัยนั้น แยกไว้เป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากบัญชีผลประโยชน์ทั้งหลายในกรมพระคลังข้างที่ และได้จัดเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ นับแต่ได้ออกพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์แล้ว เมื่อที่ดินพิพาทได้จากเอาเงินในบัญชีประกันอัคคีภัยไปซื้อย่อมถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ.2479 การขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมพระคลังข้างที่ หรือสำนักงานพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวัง นั้นเป็นราชการแผ่นดิน จำเป็นจะต้องมีพระบรมราชานุญาตให้ขายเสียก่อนจึงจะขายได้ และพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตนั้นจะต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามความในมาตรา 57แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลาที่มีการขาย
พระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ขายที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 1 มีบันทึกของเจ้าหน้าที่ปะหน้าพระราชหัตถเลขาและมีรัฐมนตรีผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรีในสำนักพระราชวังสมัยนั้น เขียนคำว่า 'ทราบ'และเซ็นชื่อไว้ข้างใต้คำว่าทราบในบันทึกของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมีลักษณะเป็นการเซ็นรับทราบรายงานของเจ้าหน้าที่เท่านั้น ไม่มีข้อความใดแสดงว่าเป็นการรับสนองพระบรมราชโองการเลย จึงหาเป็นการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบตามรัฐธรรมนูญไม่
จำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทและได้รับโอนกรรมสิทธิ์แล้ว แม้ว่าการซื้อขายเป็นไปโดยไม่สมบูรณ์ถูกต้อง จำเลยที่ 1 ก็ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยสงบและเปิดเผยตลอดมา ได้รื้อสิ่งปลูกสร้างเดิมออกแล้วปลูกตึกแทนแม้จำเลยที่ 1 จะเคยมีหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานพระมหากรุณาขอให้งดเว้นการเรียกที่ดินคืน ก็ไม่มีลักษณะเป็นการยอมรับอำนาจโจทก์เหนือที่ดิน เป็นแต่การให้เหตุผลโต้แย้งหนังสือของโจทก์ที่เรียกที่ดินคืนเท่านั้นพฤติการณ์ที่จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทดังกล่าวแล้ว จึงเป็นการครอบครองปรปักษ์ต่อโจทก์
ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ. 2479 มาตรา 7 ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่โดยได้รับพระบรมราชานุมัติเพื่อสาธารณประโยชน์หรือ เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3)พ.ศ.2491 มาตรา 8 เป็นว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อันได้มีกฎหมายให้โอนหรือจำหน่ายได้เท่านั้น ดังนี้ผู้ใดจะได้ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปเป็นกรรมสิทธิ์ย่อมจะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวแล้วแต่ประการเดียว ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษยกเว้นกฎหมายทั่วไปจะอ้างการครอบครองปรปักษ์ขึ้นใช้ยันสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หาได้ไม่
ขณะที่มีการโอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ที่ดินพิพาทอยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ แต่ต่อมามีพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479ให้โอนทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปอยู่ในความดูแลรักษาของโจทก์ซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทด้วย โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
จำเลยที่ 1 เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการสำนักพระราชวัง และต่อมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพระคลังข้างที่ ขณะซื้อที่ดินพิพาทจำเลยที่ 1 ยังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองด้วย ซึ่งรู้ดีว่ามีการตั้งกระทู้ถามในสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการซื้อขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่าเป็นไปโดยไม่สุจริตเมื่อปี 2480 จนรัฐบาลสมัยนั้นต้องตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาสอบสวนและเรียกที่ดินคืน36 ราย ซึ่งรวมทั้งที่ดินพิพาทด้วย การที่จำเลยที่ 1 ปลูกสร้างตึกในที่ดินพิพาทเมื่อปี 2481 จึงเป็นการทำไปทั้งๆ ที่รู้ว่าที่ดินยังไม่เป็นสิทธิของจำเลยโดยสมบูรณ์ ถือไม่ได้ว่าเป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1310 แต่กรณีต้องด้วยมาตรา 1311 (วรรค 2, 3, 4 และ 5วินิจฉัยในที่ประชุมครั้งที่ 8-9/2516)
ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ.2479 การขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมพระคลังข้างที่ หรือสำนักงานพระคลังข้างที่ สำนักพระราชวัง นั้นเป็นราชการแผ่นดิน จำเป็นจะต้องมีพระบรมราชานุญาตให้ขายเสียก่อนจึงจะขายได้ และพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตนั้นจะต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการตามความในมาตรา 57แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในเวลาที่มีการขาย
พระราชหัตถเลขาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ขายที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 1 มีบันทึกของเจ้าหน้าที่ปะหน้าพระราชหัตถเลขาและมีรัฐมนตรีผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรีในสำนักพระราชวังสมัยนั้น เขียนคำว่า 'ทราบ'และเซ็นชื่อไว้ข้างใต้คำว่าทราบในบันทึกของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งมีลักษณะเป็นการเซ็นรับทราบรายงานของเจ้าหน้าที่เท่านั้น ไม่มีข้อความใดแสดงว่าเป็นการรับสนองพระบรมราชโองการเลย จึงหาเป็นการลงนามรับสนองพระบรมราชโองการเป็นผู้รับผิดชอบตามรัฐธรรมนูญไม่
จำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทและได้รับโอนกรรมสิทธิ์แล้ว แม้ว่าการซื้อขายเป็นไปโดยไม่สมบูรณ์ถูกต้อง จำเลยที่ 1 ก็ได้ครอบครองที่ดินพิพาทโดยสงบและเปิดเผยตลอดมา ได้รื้อสิ่งปลูกสร้างเดิมออกแล้วปลูกตึกแทนแม้จำเลยที่ 1 จะเคยมีหนังสือทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานพระมหากรุณาขอให้งดเว้นการเรียกที่ดินคืน ก็ไม่มีลักษณะเป็นการยอมรับอำนาจโจทก์เหนือที่ดิน เป็นแต่การให้เหตุผลโต้แย้งหนังสือของโจทก์ที่เรียกที่ดินคืนเท่านั้นพฤติการณ์ที่จำเลยที่ 1 ครอบครองที่ดินพิพาทดังกล่าวแล้ว จึงเป็นการครอบครองปรปักษ์ต่อโจทก์
ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์พ.ศ. 2479 มาตรา 7 ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่โดยได้รับพระบรมราชานุมัติเพื่อสาธารณประโยชน์หรือ เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3)พ.ศ.2491 มาตรา 8 เป็นว่าทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จะโอนหรือจำหน่ายได้ก็แต่เพื่อประโยชน์แก่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตหรือเพื่อสาธารณประโยชน์อันได้มีกฎหมายให้โอนหรือจำหน่ายได้เท่านั้น ดังนี้ผู้ใดจะได้ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปเป็นกรรมสิทธิ์ย่อมจะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวแล้วแต่ประการเดียว ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษยกเว้นกฎหมายทั่วไปจะอ้างการครอบครองปรปักษ์ขึ้นใช้ยันสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หาได้ไม่
ขณะที่มีการโอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ที่ดินพิพาทอยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ แต่ต่อมามีพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ.2479ให้โอนทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ไปอยู่ในความดูแลรักษาของโจทก์ซึ่งรวมถึงที่ดินพิพาทด้วย โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
จำเลยที่ 1 เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการสำนักพระราชวัง และต่อมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพระคลังข้างที่ ขณะซื้อที่ดินพิพาทจำเลยที่ 1 ยังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทสองด้วย ซึ่งรู้ดีว่ามีการตั้งกระทู้ถามในสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการซื้อขายที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่าเป็นไปโดยไม่สุจริตเมื่อปี 2480 จนรัฐบาลสมัยนั้นต้องตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาสอบสวนและเรียกที่ดินคืน36 ราย ซึ่งรวมทั้งที่ดินพิพาทด้วย การที่จำเลยที่ 1 ปลูกสร้างตึกในที่ดินพิพาทเมื่อปี 2481 จึงเป็นการทำไปทั้งๆ ที่รู้ว่าที่ดินยังไม่เป็นสิทธิของจำเลยโดยสมบูรณ์ ถือไม่ได้ว่าเป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1310 แต่กรณีต้องด้วยมาตรา 1311 (วรรค 2, 3, 4 และ 5วินิจฉัยในที่ประชุมครั้งที่ 8-9/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1658/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อที่ไม่สมบูรณ์: การลงลายมือชื่อกรรมการคนเดียวไม่ผูกพันบริษัท
จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ฟ้องเป็นเอกสารที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทโจทก์ ลงลายมือชื่อแต่ผู้เดียวเป็นการไม่ถูกต้องตามหนังสือรับรองของหอทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางถือได้ว่าจำเลยตั้งประเด็นต่อสู้เรื่องอำนาจฟ้องของโจทก์แล้ว
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คนสองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสีย โดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คนสองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสีย โดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1658/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อไม่สมบูรณ์เมื่อกรรมการลงลายมือชื่อคนเดียว ขาดการประทับตราบริษัท สัญญาจึงไม่มีผลผูกพัน
จำเลยต่อสู้ว่าสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ฟ้องเป็นเอกสารที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะกรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทโจทก์ ลงลายมือชื่อแต่ผู้เดียวเป็นการไม่ถูกต้องตามหนังสือรับรองของหอทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางถือได้ว่าจำเลยตั้งประเด็นต่อสู้เรื่องอำนาจฟ้องของโจทก์แล้ว
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คน สองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสียโดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
กรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทโจทก์ได้มี 3 คน สองในสามคนมีอำนาจลงลายมือชื่อกระทำแทนบริษัทได้แต่ต้องประทับตราสำคัญของบริษัทด้วย ดังนี้ การลงลายมือชื่อในเอกสารที่ทำขึ้นในนามของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัด จะมีผลเป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อกรรมการที่ระบุชื่อไว้ลงลายมือชื่อแทนโจทก์ไม่น้อยกว่าสองคนและประทับตราด้วยแต่ตามสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำไว้กับจำเลย ปรากฏว่ากรรมการผู้เดียวลงลายมือชื่อเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้ให้เช่าซื้อ จึงไม่มีผลสมบูรณ์เป็นการลงลายมือชื่อของโจทก์ ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นคู่สัญญาเช่าซื้อกับจำเลย โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยรับผิดตามสัญญาเช่าซื้อฟ้องโจทก์ต้องยกเสียโดยไม่จำต้องวินิจฉัยปัญหาว่า เป็นการกระทำของตัวแทนซึ่งกระทำไปโดยปราศจากอำนาจ หรือทำนอกทำเหนือขอบอำนาจ และโจทก์ซึ่งเป็นตัวการได้ให้สัตยาบันแล้วหรือไม่เพราะเป็นการนอกประเด็นจากคำฟ้องและคำให้การ
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 546/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจำนองโมฆะเมื่อมิได้จดทะเบียน และการรับสภาพหนี้ไม่ก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องใหม่
จำเลยที่ 2 ยอมผูกพันตนเองเพื่อประกันการชำระหนี้ซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์. โดยมอบโฉนดที่ดินและใบมอบฉันทะซึ่งลงชื่อแล้ว.ให้โจทก์ไว้เพื่อจดทะเบียนจำนอง. เมื่อมิได้มีการจดทะเบียนจำนองให้ถูกต้องตามกฎหมาย.สัญญาจำนองย่อมตกเป็นโมฆะ.
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลง.หาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่. หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม.
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้. โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้. ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย.
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลง.หาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่. หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม.
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้. โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้. ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 546/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจำนองโมฆะ หากมิได้จดทะเบียนตามกฎหมาย การรับสภาพหนี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิฟ้องร้องใหม่
จำเลยที่ 2 ยอมผูกพันตนเองเพื่อประกันการชำระหนี้ซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์ โดยมอบโฉนดที่ดินและใบมอบฉันทะซึ่งลงชื่อแล้วให้โจทก์ไว้เพื่อจดทะเบียนจำนองเมื่อมิได้มีการจดทะเบียนจำนองให้ถูกต้องตามกฎหมาย สัญญาจำนองย่อมตกเป็นโมฆะ
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลง หาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่ หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้ โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้ ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลง หาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่ หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้ โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้ ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 546/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจำนองโมฆะหากมิได้จดทะเบียน & การรับสภาพหนี้ไม่ก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องใหม่
จำเลยที่ 2 ยอมผูกพันตนเองเพื่อประกันการชำระหนี้ซึ่งจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์โดยมอบโฉนดที่ดินและใบมอบฉันทะซึ่งลงชื่อแล้วให้โจทก์ไว้เพื่อจดทะเบียนจำนอง เมื่อมิได้มีการจดทะเบียนจำนองให้ถูกต้องตามกฎหมายสัญญาจำนองย่อมตกเป็นโมฆะ
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลงหาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่ หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้ โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้ ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย
การรับสภาพหนี้นั้น มีผลเพียงทำให้อายุความสะดุดหยุดลงหาเป็นการก่อตั้งสิทธิฟ้องร้องขึ้นใหม่แต่อย่างใดไม่ หากหนี้ซึ่งจะต้องรับผิดมิได้เกิดมีขึ้นอยู่แต่เดิม
เมื่อโจทก์อุทธรณ์ฎีกาเฉพาะในประเด็นที่ว่า หนังสือซึ่งจำเลยที่ 2 มีถึงโจทก์เป็นหนังสือรับสภาพหนี้ โดยมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนังสือนั้นอาจถือเป็นหลักฐานแห่งการค้ำประกันได้ ย่อมไม่มีประเด็นที่ศาลฎีกาจะหยิบยกปัญหาข้อนี้ขึ้นวินิจฉัย