พบผลลัพธ์ทั้งหมด 61 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1369-1370/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความร่วมมือในการฆ่า: การกระทำร่วมกันและเจตนาในการกระทำผิด
จำเลยที่ 1 เป็นคนใช้ปืนยิงผู้ตาย จำเลยที่ 2,3 มีอาวุธ โดดจากเรือนไปพร้อมจำเลยที่ 1 แสดงว่าจำเลยที่ 2,3 รู้เห็น มีเจตนาร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่ 1 การที่จำเลยที่ 2,3 มีอาวุธ แสดงว่าจำเลยที่ 2,3 พร้อมที่จะช่วยจำเลยที่ 1 ได้ทันที เมื่อจำเลยที่ 1 ยิงผู้ตายแล้ว ตอนหนีกลับจำเลยทั้งสามยังหนีกลับมาทางเดียวพร้อมกันอีก จึงนับว่าจำเลยที่ 2,3 ได้ร่วมกันกระทำความผิดด้วยกับจำเลยที่ 1 เป็นตัวการฆ่าผู้ตายด้วยกัน
โทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 กับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 กำหนดไว้เท่ากัน การที่จะใช้กฎหมายใหม่ขึ้นบังคับปรับบทก็ไม่เป็นคุณแก่จำเลยผู้กระทำผิดแต่อย่างใด ศาลจึงต้องใช้กฎหมายลักษณะอาญาปรับบทลงโทษจำเลย
(อ้างฎีกาที่ 1630/2500,1814/2500)
โทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 กับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 กำหนดไว้เท่ากัน การที่จะใช้กฎหมายใหม่ขึ้นบังคับปรับบทก็ไม่เป็นคุณแก่จำเลยผู้กระทำผิดแต่อย่างใด ศาลจึงต้องใช้กฎหมายลักษณะอาญาปรับบทลงโทษจำเลย
(อ้างฎีกาที่ 1630/2500,1814/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1369-1370/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ร่วมกันฆ่าผู้อื่น: การกระทำโดยเจตนา และการสนับสนุนความผิดอาญา
จำเลยที่ 1 เป็นคนใช้ปืนยิงผู้ตาย จำเลยที่ 2,3 มีอาวุธ โดดจากเรือนไปพร้อมจำเลยที่ 1 แสดงว่าจำเลยที่ 2,3 รู้เห็นมีเจตนาร่วมกระทำผิดกับจำเลยที่1 การที่จำเลยที่ 2,3 มีอาวุธ แสดงว่าจำเลยที่2,3 พร้อมที่จะช่วยจำเลยที่ 1 ได้ทันที เมื่อจำเลยที่ 1 ยิงผู้ตายแล้ว ตอนหนีกลับจำเลยทั้งสามยังหนีกลับมาทางเดียวพร้อมกันอีกจึงนับว่าจำเลยที่ 2,3ได้ร่วมกันกระทำความผิดด้วยกับจำเลยที่ 1 เป็นตัวการฆ่าผู้ตายด้วยกัน
โทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 กับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 กำหนดไว้เท่ากัน การที่จะใช้กฎหมายใหม่ขึ้นบังคับปรับบทก็ไม่เป็นคุณแก่จำเลยผู้กระทำผิดแต่อย่างใด ศาลจึงต้องใช้กฎหมายลักษณะอาญาปรับบทลงโทษจำเลย(อ้างฎีกาที่ 1630/2500,1814/2500)
โทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 กับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 กำหนดไว้เท่ากัน การที่จะใช้กฎหมายใหม่ขึ้นบังคับปรับบทก็ไม่เป็นคุณแก่จำเลยผู้กระทำผิดแต่อย่างใด ศาลจึงต้องใช้กฎหมายลักษณะอาญาปรับบทลงโทษจำเลย(อ้างฎีกาที่ 1630/2500,1814/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1107/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษฆ่าคนโดยเจตนาเมื่อเหตุเกิดก่อนใช้ประมวลกฎหมายอาญา ศาลฎีกาแก้ไขโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา
จำเลยทำผิดฐานฆ่าคนโดยเจตนา เหตุเกิดก่อนใช้ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 249 ต้องลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 หาได้ไม่ เพราะอัตราโทษเท่ากันกับกฎหมายเก่า ไม่มีส่วนที่เป็นคุณแก่จำเลยประการใด และเมื่อคำให้การจำเลยมีประโยชน์ในการพิจารณาอยู่บ้าง จะปรานีลดโทษให้จำเลย ก็ร้องอ้างกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 จะมาอ้างประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1107/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษจำเลยในคดีฆ่าคนโดยเจตนาที่เกิดก่อนใช้ประมวลกฎหมายอาญา ต้องใช้กฎหมายเก่า แม้โทษเท่ากัน
จำเลยทำผิดฐานฆ่าคนโดยเจตนาเหตุเกิดก่อนใช้ประมวลกฎหมายอาญาต้องลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 249 จะลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 หาได้ไม่ เพราะอัตราโทษเท่ากันกับกฎหมายเก่า ไม่มีส่วนที่เป็นคุณแก่จำเลยประการใด และเมื่อคำให้การจำเลยมีประโยชน์ในการพิจารณาอยู่บ้าง จะปรานีลดโทษให้จำเลย ก็ต้องอ้างกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 59 จะมาอ้างประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2003-2005/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าอาวาสมีอำนาจหน้าที่เสมือนเจ้าพนักงาน การกระทำผิดจึงเข้าข่ายความผิดของเจ้าพนักงาน
การที่ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์บัญญัติไว้ว่า พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญานั้น บ่งชัดถึงอำนาจและหน้าที่ กล่าวคือเมื่อมีอำนาจในวัดเหมือนกับเจ้าพนักงานแล้ว หากกระทำผิดในหน้าที่ก็จะต้องเป็นผิดฐานเจ้าพนักงานกระทำความผิดด้วย
การลดโทษที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมื่อได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่าคือ กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ (ตามแบบอย่างฎีกาที่ 1879/2500)
การลดโทษที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมื่อได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่าคือ กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ (ตามแบบอย่างฎีกาที่ 1879/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2003-2005/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฐานความผิดของพระภิกษุผู้ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสในฐานะเจ้าพนักงาน
การที่ พ.ร.บ. คณะสงฆ์บัญญัติไว้ว่า พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามบทแห่ง พ.ร.บ.นี้ ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญานั้น บ่งชัดถึงอำนาจและหน้าที่ กล่าวคือ เมือมีอำนาจในวัดเหมือนกับเจ้าพนักงานแล้ว หากกระทำผิดในหน้าที่ก็จะต้องเป็นผิดฐานเจ้าพนักงานกระทำความผิดด้วย
การลดโทษ ที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมือได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่า คือ ก.ม. ลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ.
( ตามแบบอย่างฎีกา ที่ 1879/2500 )
การลดโทษ ที่มีเหตุอันเข้าลักษณะทั้งกฎหมายเก่าและกฎหมายใหม่นั้น เมือได้ทำผิดขณะใช้กฎหมายเก่า ก็ควรอ้างกฎหมายเก่า คือ ก.ม. ลักษณะอาญา มาตรา 59 เป็นเหตุลดโทษ.
( ตามแบบอย่างฎีกา ที่ 1879/2500 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1491/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฆ่าโดยเจตนาไตร่ตรองไว้ก่อนจากความขัดแย้งเรื่องชู้สาว ศาลยืนตามคำพิพากษาเดิม
การที่ใช้มีดถางหญ้าฟันเขาถึง 3 แผล แผลที่คอเป็นแผลฉกรรจ์และถึงแก่ความตายในขณะนั้น อันมีสาเหตุเพราะจำเลยเป็นชู้กับเมียผู้ตายและอยากจะอยู่ด้วยกัน การที่จำเลยขุดดินร่วมครึ่งชั่วโมงลอดตัวเข้าไปฆ่าผู้ตายซึ่งนอนอยู่ในโรงได้สมประสงค์ เช่นนี้ย่อมแสดงว่าจำเลยกระทำโดยพยายามด้วยความพยาบาทมาดหมายตาม มาตรา 250
การลดโทษประหารชีวิตตาม มาตรา 5937 นั้นต้องควบกัน มาตรา 37 เป็นหลักเกณฑ์การลดโทษว่ามากน้อยเพียงไร มาตรา 59เป็นดุลพินิจในการลดโทษให้
การลดโทษประหารชีวิตตาม มาตรา 5937 นั้นต้องควบกัน มาตรา 37 เป็นหลักเกณฑ์การลดโทษว่ามากน้อยเพียงไร มาตรา 59เป็นดุลพินิจในการลดโทษให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1481/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจลดโทษมาตรา 59 เป็นข้อเท็จจริง ไม่ใช่ข้อกฎหมาย
การลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 นั้นเป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่องมิใช่เป็นข้อกฎหมาย
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำคุกจำเลยคนละ 6 เดือนฐานทำร้ายร่างกายบาดเจ็บตาม มาตรา 254-63 ลดฐานปราณีตามมาตรา 59 กึ่งหนึ่งคงจำคุกคนละ 3 เดือน แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำคุกจำเลยคนละ 1 ปี 6 เดือน โดยบทมาตราเดียวกัน และไม่ลดฐานปราณีให้ เพราะถือว่าจำเลยจำนนแก่พยาน ดังนี้ถือว่าการลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม มาตรา 59เป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่อง ไม่ใช่เป็นข้อกฎหมายจึงฎีกาไม่ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำคุกจำเลยคนละ 6 เดือนฐานทำร้ายร่างกายบาดเจ็บตาม มาตรา 254-63 ลดฐานปราณีตามมาตรา 59 กึ่งหนึ่งคงจำคุกคนละ 3 เดือน แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำคุกจำเลยคนละ 1 ปี 6 เดือน โดยบทมาตราเดียวกัน และไม่ลดฐานปราณีให้ เพราะถือว่าจำเลยจำนนแก่พยาน ดังนี้ถือว่าการลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม มาตรา 59เป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่อง ไม่ใช่เป็นข้อกฎหมายจึงฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1481/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลดโทษตามมาตรา 59 เป็นดุลพินิจข้อเท็จจริง ไม่ใช่ข้อกฎหมาย จึงไม่อุทธรณ์ฎีกาได้
การลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 59 นั้นเป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่องมิใช่เป็นข้อกฎหมาย
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำคุกจำเลยคนละ 6 เดือนฐานทำร้ายร่างกายบาดเจ็บตาม มาตรา 254-63 ลดฐานปราณีตามมาตรา 59 กึ่งหนึ่งคงจำคุกคนละ 3 เดือน แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำคุกจำเลยคนละ 1 ปี 6 เดือน โดยบทมาตราเดียวกัน และไม่ลดฐานปราณีให้ เพราะถือว่าจำเลยจำนนแก่พยาน ดังนี้ถือว่าการลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม มาตรา 59เป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่อง ไม่ใช่เป็นข้อกฎหมายจึงฎีกาไม่ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำคุกจำเลยคนละ 6 เดือนฐานทำร้ายร่างกายบาดเจ็บตาม มาตรา 254-63 ลดฐานปราณีตามมาตรา 59 กึ่งหนึ่งคงจำคุกคนละ 3 เดือน แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้จำคุกจำเลยคนละ 1 ปี 6 เดือน โดยบทมาตราเดียวกัน และไม่ลดฐานปราณีให้ เพราะถือว่าจำเลยจำนนแก่พยาน ดังนี้ถือว่าการลดโทษฐานปราณีแก่จำเลยตาม มาตรา 59เป็นการใช้ดุลพินิจซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเฉพาะเรื่อง ไม่ใช่เป็นข้อกฎหมายจึงฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษอาญา: หลักการหักกลบลบกันเมื่อโทษเพิ่มและลดมีกำหนดเท่ากัน
เมื่อโทษที่จะเพิ่มและจะลดมีกำหนด (กึ่งหนึ่ง) เท่ากันศาลต้องให้หักกลบลบกัน ไม่ต้องเพิ่มไม่ต้องลด
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย