พบผลลัพธ์ทั้งหมด 133 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดพยายามลักทรัพย์เป็นเหตุร้ายตาม พ.ร.บ. กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย
การกระทำผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 283 นั้น ไม่ว่าจะเป็นความผิดสำเร็จ หรือเพียงแต่พยายามกระทำก็นับได้ว่าเป็น" เหตุร้าย" ตาม พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 4แล้วทั้งนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษอาญา: หักกลบลบกันเมื่อมีอัตราเท่ากัน แม้มีโทษฐานไม่เข็ดหลาบ
เมื่อโทษที่จะเพิ่มและจะลดมีกำหนด (กึ่งหนึ่ง) เท่ากันศาลต้องให้หักกลบลบกัน ไม่ต้องเพิ่มไม่ต้องลด
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษอาญา: หลักการหักกลบลบกันเมื่อโทษเพิ่มและลดมีกำหนดเท่ากัน
เมื่อโทษที่จะเพิ่มและจะลดมีกำหนด (กึ่งหนึ่ง) เท่ากันศาลต้องให้หักกลบลบกัน ไม่ต้องเพิ่มไม่ต้องลด
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1199/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกักกันผู้กระทำผิดซ้ำ: การตีความ 'ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง' ตาม พ.ร.บ.กักกันผู้ร้าย
ถ้าผู้ใดเคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง ตามความใน พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 นั้นหมายความว่าถ้าผู้ใดได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษามาแล้วตั้งแต่ 2 ครั้งหรือกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ก็เรียกว่าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายในคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 ด้วย (ฎีกาที่ 714/2498)
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายในคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 ด้วย (ฎีกาที่ 714/2498)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1199/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกักกันผู้กระทำผิดซ้ำ: การตีความ 'ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง' ตาม พ.ร.บ.กักกันผู้ร้าย
ถ้าผู้ใดเคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง ตามความใน พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 นั้นหมายความว่าถ้าผู้ใดได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษามาแล้วตั้งแต่ 2 ครั้งหรือกว่า 2 ครั้งขึ้นไป ก็เรียกว่าไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายในคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 ด้วย (ฎีกาที่ 714/2498)
จำเลยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาฐานลักทรัพย์มาแล้ว 2 ครั้ง เมื่อมาต้องคำพิพากษาจำคุกฐานลักทรัพย์อันเป็นเหตุร้ายในคดีนี้ขึ้นอีก กรณีจึงเข้าเกณฑ์ความผิดตาม พระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479 มาตรา 8 ด้วย (ฎีกาที่ 714/2498)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 604/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานปล้นทรัพย์ vs ลักทรัพย์: การแบ่งแยกความรับผิดของจำเลยตามพฤติการณ์ที่แตกต่างกัน
จำเลยที่ 1 กับอีกคนหนึ่งถือมีดคุมเชิงอยู่ใกล้ ๆ ในขณะที่คนร้ายอีกคนหนึ่งขู่เข็ญจะทำร้ายเจ้าทรัพย์ ดังนี้จำเลยที่ 1 มีผิด ตามมาตรา 301
ส่วนจำเลยที่2,3 เมื่อได้ปืนก็ปลีกตัวไปเสียก่อนยังไม่ได้มีการขู่เข็ญเจ้าทรัพย์มาเกิดการขู่เข็ญขึ้นภายหลัง เป็นการขาดตอนมิได้เกี่ยวข้องกับจำเลยที่ 2,3 แล้ว จำเลยทั้งสองจึงเพียงแต่มีผิดตาม ม. 294 ตอน 2 ประกอบด้วย ม.293 ข้อ 7-11 และ ม.294 ข้อ 1 เท่านั้น
ฟ้องว่าปล้นทรัพย์ได้ความว่าลักทรัพย์ลงโทษได้
ส่วนจำเลยที่2,3 เมื่อได้ปืนก็ปลีกตัวไปเสียก่อนยังไม่ได้มีการขู่เข็ญเจ้าทรัพย์มาเกิดการขู่เข็ญขึ้นภายหลัง เป็นการขาดตอนมิได้เกี่ยวข้องกับจำเลยที่ 2,3 แล้ว จำเลยทั้งสองจึงเพียงแต่มีผิดตาม ม. 294 ตอน 2 ประกอบด้วย ม.293 ข้อ 7-11 และ ม.294 ข้อ 1 เท่านั้น
ฟ้องว่าปล้นทรัพย์ได้ความว่าลักทรัพย์ลงโทษได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 604/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานปล้นทรัพย์ vs ลักทรัพย์: การแยกแยะบทบาทและขอบเขตความรับผิดของตัวการร่วม
จำเลยที่ 1 กับอีกคนหนึ่งถือมีดคุมเชิงอยู่ใกล้ๆ ในขณะที่คนร้ายอีกคนหนึ่งขู่เข็ญจะทำร้ายเจ้าทรัพย์ดังนี้จำเลยที่ 1 มีผิดตามมาตรา 301
ส่วนจำเลยที่ 2,3 เมื่อได้ก็ปลีกตัวไปเสียก่อนยังไม่ได้มีการขู่เข็ญเจ้าทรัพย์มาเกิดการขู่เข็ญขึ้นภายหลัง เป็นการขาดตอนมิได้เกี่ยวข้องกับจำเลยที่ 2,3 แล้ว จำเลยทั้งสองจึงเพียงแต่มีผิดตามมาตรา 294ตอน 2 ประกอบด้วย มาตรา 293 ข้อ 7-11 และ มาตรา 294ข้อ 1 เท่านั้น
ฟ้องว่าปล้นทรัพย์ได้ความว่าลักทรัพย์ ลงโทษได้
ส่วนจำเลยที่ 2,3 เมื่อได้ก็ปลีกตัวไปเสียก่อนยังไม่ได้มีการขู่เข็ญเจ้าทรัพย์มาเกิดการขู่เข็ญขึ้นภายหลัง เป็นการขาดตอนมิได้เกี่ยวข้องกับจำเลยที่ 2,3 แล้ว จำเลยทั้งสองจึงเพียงแต่มีผิดตามมาตรา 294ตอน 2 ประกอบด้วย มาตรา 293 ข้อ 7-11 และ มาตรา 294ข้อ 1 เท่านั้น
ฟ้องว่าปล้นทรัพย์ได้ความว่าลักทรัพย์ ลงโทษได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1654/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลักทรัพย์ปลาในเหมืองสาธารณะ: การพิสูจน์ความเป็นเจ้าของและการเข้าถึงทรัพยากร
จำเลยเอาแหทอดปลาในหนองน้ำซึ่งเป็นลำเหมืองเอกชนสำหรับถ่ายน้ำสู่แม่น้ำ แม้จะมีผู้เช่าเอาเฝือกมากั้นไว้ด้านหนึ่งก็ตาม จำเลยก็ย่อมไม่มีผิดฐานลักทรัพย์ เพราะปลาในเหมืองมาจากทุ่งนาและแม่น้ำทั่วไป หาใช่เจ้าของนำมาเพาะเลี้ยงไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 395/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญา: การระบุวันเวลาการกระทำผิดและการรับของโจร
ฟ้องบรรยายว่า เมื่อเวลาค่ำคืนระหว่างวันที่ 6-7พฤศจิกายน2494 คนร้ายได้ลักทรัพย์ของผู้เสียหายไปต่อมาวันที่ 7 เดือนเดียวกัน เวลากลางวัน จับของกลางได้ที่ลิ้นชักตู้ของจำเลยทั้งนี้โดยจำเลยเป็นคนร้ายลักทรัพย์นั้นมา หรือมิฉะนั้นจำเลยก็รับเอาทรัพย์ดังกล่าวแล้ว ไว้จากโจรโดยรู้ว่าเป็นของร้ายได้มาจากการกระทำผิดกฎหมายขอให้ลงโทษตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 293,294,321คงถือได้ว่า ฟ้องดังกล่าวได้มีวันเดือนปีที่หาว่าจำเลยทำผิดไว้แล้วเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 395/2496 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องคดีลักทรัพย์-รับของโจร การระบุวันเวลาทำผิดชัดเจนเพียงพอต่อการดำเนินคดี
ฟ้องบรรยายว่า เมื่อเวลาค่ำคืนระหว่างวันที่ 6 - 7 พฤศจิกายน 2494 คนร้ายได้ลักทรัพย์ของผู้เสียหายไป ต่อมาวัน
ที่ 7 เดือนเดียวกัน เวลากลางวัน จับของกลางได้ที่ลิ้นชักตู้ของจำเลยทั้งนี้โดยจำเลยเป็นคนร้ายลักทรัพย์นั้นมาร หรือมิฉะนั้นจำเลยก็รับเอาทรัพย์ดังกล่าวแล้ว ไว้จากโจรโดยรู้ว่าเป็นของร้ายได้มาจากการกระทำผิดกฎหมาย ขอให้ลงโทษตาม ก.ม.ลักษณะอาญา มาตรา 293, 294, 321 คงถือได้ว่า ฟ้องดังกล่าวได้มีวันเดือนปีที่หาว่าจำเลยทำ
ผิดไว้แล้ว เป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตาม ป.ม.วิ.อาญามาตรา 158(5) แล้ว.
ที่ 7 เดือนเดียวกัน เวลากลางวัน จับของกลางได้ที่ลิ้นชักตู้ของจำเลยทั้งนี้โดยจำเลยเป็นคนร้ายลักทรัพย์นั้นมาร หรือมิฉะนั้นจำเลยก็รับเอาทรัพย์ดังกล่าวแล้ว ไว้จากโจรโดยรู้ว่าเป็นของร้ายได้มาจากการกระทำผิดกฎหมาย ขอให้ลงโทษตาม ก.ม.ลักษณะอาญา มาตรา 293, 294, 321 คงถือได้ว่า ฟ้องดังกล่าวได้มีวันเดือนปีที่หาว่าจำเลยทำ
ผิดไว้แล้ว เป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตาม ป.ม.วิ.อาญามาตรา 158(5) แล้ว.