พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 484/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขนส่งสินค้า กากน้ำตาลขาดหาย ความรับผิดของผู้ขนส่ง หนังสือรับสภาพหนี้ไม่มีผลผูกพัน
จำเลยรับจ้างขนส่งกากน้ำตาลให้แก่โจทก์ กากน้ำตาลขาดหายไป ปรากฏว่าเมื่อขนลงเรือ โจทก์กะประมาณน้ำหนักเอาเมื่อรับของจึงจะมีการชั่ง ตวง วัด จึงเกิดการคลาดเคลื่อนไม่แน่นอน และเมื่อสูบกากน้ำตาลขึ้นจากเรือมีกากน้ำตาลเหนียวติดเรือ และน้ำที่ปนน้ำตาลแห้งระเหยไปด้วย ดังนี้ จำนวนน้ำหนักกากน้ำตาลที่ขาดไปจึงเป็นการเกิดแต่สภาพแห่งของนั้นเองซึ่งจำเลยพิสูจน์ได้ มิใช่จำเลยเป็นผู้ทำให้ขาดไป จำเลยจึงไม่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 616
เมื่อโจทก์กับจำเลยไม่มีมูลหนี้ต่อกัน หนังสือรับสภาพหนี้ที่โจทก์ฟ้องก็ปราศจากหนี้ที่จะรับสภาพ ไม่มีผลบังคับแก่กัน
เมื่อโจทก์กับจำเลยไม่มีมูลหนี้ต่อกัน หนังสือรับสภาพหนี้ที่โจทก์ฟ้องก็ปราศจากหนี้ที่จะรับสภาพ ไม่มีผลบังคับแก่กัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1704-1705/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินโดยเจตนาลวงและการรับโอนโดยไม่สุจริต ทำให้เพิกถอนนิติกรรมได้
จำเลยที่ 1 ขอยืมที่ดินของโจทก์เพื่อนำไปจำนองเป็นประกันเงินกู้ที่จำเลยที่ 1 กู้จากธนาคาร โจทก์จึงแบ่งแยกที่ดินของโจทก์ส่วนหนึ่งแล้วใส่ชื่อจำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของโดยตกลงกันว่า เมื่อจำเลยที่ 1 ชำระหนี้ธนาคารหมดแล้วจะคืนที่ดินให้โจทก์เป็นการแสดงเจตนาลวง ที่ดินยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์อยู่จำเลยตกอยู่ในความผูกพันที่จะต้องโอนที่ดินคืนให้โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่น
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซื้อที่ดินจากจำเลยที่ 1 โดย ทราบถึงการแสดงเจตนาลวงเป็นการรับโอนโดยไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซื้อที่ดินจากจำเลยที่ 1 โดย ทราบถึงการแสดงเจตนาลวงเป็นการรับโอนโดยไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1704-1705/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินโดยเจตนาลวงและการรับโอนโดยไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิเพิกถอนนิติกรรม
จำเลยที่ 1 ขอยืมที่ดินของโจทก์เพื่อนำไปจำนองเป็นประกันเงินกู้ที่จำเลยที่ 1 กู้จากธนาคาร โจทก์จึงแบ่งแยกที่ดินของโจทก์ส่วนหนึ่งแล้วใส่ชื่อจำเลยที่ 1 เป็นเจ้าของโดยตกลงกันว่า เมื่อจำเลยที่ 1 ชำระหนี้ธนาคารหมดแล้วจะคืนที่ดินให้โจทก์เป็นการแสดงเจตนาลวง ที่ดินยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์อยู่จำเลยตกอยู่ในความผูกพันที่จะต้องโอนที่ดินคืนให้โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่น
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซื้อที่ดินจากจำเลยที่ 1 โดย ทราบถึงการแสดงเจตนาลวงเป็นการรับโอนโดยไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซื้อที่ดินจากจำเลยที่ 1 โดย ทราบถึงการแสดงเจตนาลวงเป็นการรับโอนโดยไม่สุจริต โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1727/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบหน้าที่จำเลยต้องพิสูจน์เมื่อรับสภาพการทำสัญญาขายฝาก แต่ต่อมาอ้างว่าเป็นสัญญาลวง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยขายฝากทรัพย์ให้กับโจทก์ แล้วต่อมาจำเลยยังไม่ออกไปจากทรัพย์นั้น ขอให้ขับไล่ จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาขายฝากจริงแต่เป็นการทำลวงไว้เท่านั้น เมื่อมีคำรับของจำเลยว่ามีการขายฝากกันจริงและมีข้ออ้างของจำเลยโดยเฉพาะขึ้นใหม่ว่าสมคบกันทำไว้ลวงคนอื่นดังนี้ จำเลยต้องนำสืบก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1727/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำสัญญาขายฝากจริงและภาระหน้าที่การส่งมอบทรัพย์ ผู้รับซื้อฝากมีสิทธิขับไล่ผู้ขายฝากออกจากทรัพย์
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยขายฝากทรัพย์ให้กับโจทก์ แล้วต่อมาจำเลยยังไม่ออกไปจากทรัพย์นั้น ขอให้ขับไล่ จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาขายฝากจริงแต่เป็นการทำลวงไว้เท่านั้น เมื่อมีคำรับของจำเลยว่ามีการขายฝากกันจริงและมีข้ออ้างของจำเลยโดยเฉพาะขึ้นใหม่ว่าสมคบกันทำไว้ลวงคนอื่นดังนี้ จำเลยต้องนำสืบก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1656/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้เงินเพื่อค้ำประกัน สิทธิเรียกร้องเกิดจากสัญญากู้หลัก ไม่ใช่สัญญากู้ค้ำประกัน
โจทก์ให้จำเลยกู้เงิน 500 บาท โดยให้จำเลยเขียนสัญญากู้ 500 บาทฉบับหนึ่ง แล้วให้เขียนสัญญากู้อีกฉบับหนึ่งว่าจำเลยกู้ 20,000 บาท คือฉบับหมาย จ.1 เพื่อค้ำประกันสัญญากู้ฉบับแรกดังนี้ โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะนำสัญญากู้หมาย จ.1 มาเป็นมูลฟ้องให้จำเลยต้องรับผิด เพราะโจทก์กับจำเลยไม่มีมูลหนี้ต่อกันตามสัญญากู้หมาย จ.1 และโจทก์จำเลยไม่มีเจตนาเรียกร้องตามสัญญากู้หมาย จ.1 เลยการที่จำเลยนำสืบว่าไม่ได้รับเงิน 20,000 บาทตามสัญญากู้หมาย จ.1. เป็นการนำสืบถึงข้อตกลงอันเป็นมูลเหตุและความประสงค์ที่ทำสัญญากู้หมาย จ.1ว่ามีอยู่อย่างไร และเป็นการนำสืบว่า มูลหนี้ที่จะทำให้จำเลยต้องรับผิดใช้เงินโจทก์นั้นหามีไม่ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94 (อ้างฎีกาที่ 781/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1656/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้เพื่อค้ำประกัน สิทธิเรียกร้องเกิดจากสัญญากู้จริงเท่านั้น ไม่ใช่สัญญากู้ค้ำประกันที่ไม่มีการรับเงิน
โจทก์ให้จำเลยกู้เงิน 500 บาท โดยให้จำเลยเขียนสัญญากู้ 500 บาทฉบับหนึ่ง แล้วให้เขียนสัญญากู้อีกฉบับหนึ่งว่าจำเลยกู้ 20,000 บาท คือฉบับหมาย จ.1 เพื่อค้ำประกันสัญญากู้ฉบับแรกดังนี้ โจทก์ไม่มีสิทธิที่จะนำสัญญากู้หมาย จ.1 มาเป็นมูลฟ้องให้จำเลยต้องรับผิดเพราะโจทก์กับจำเลยไม่มีมูลหนี้ต่อกันตามสัญญากู้หมาย จ.1 และโจทก์จำเลยไม่มีเจตนาเรียกร้องตามสัญญากู้หมาย จ.1 เลยการที่จำเลยนำสืบว่า ไม่ได้รับเงิน 20,000 บาทตามสัญญากู้หมาย จ.1. เป็นการนำสืบถึงข้อตกลงอันเป็นมูลเหตุและความประสงค์ที่ทำสัญญากู้หมาย จ.1 ว่ามีอยู่อย่างไร และเป็นการนำสืบว่า มูลหนี้ที่จะทำให้จำเลยต้องรับผิดใช้เงินโจทก์นั้นหามีไม่ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 (อ้างฎีกาที่ 781/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1020/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงตัวผู้เช่าทำให้สัญญาเช่าระงับสิ้นสุด ผู้เช่าเดิมไม่มีสิทธิในฐานะผู้เช่าอีกต่อไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาเช่า ขอให้ขับไล่จำเลยทั้งสามออกจากอาคารที่เช่าจำเลยที่ 2 ให้การว่า เดิม ช. สามีจำเลยที่ 2 เป็นผู้เช่าจากโจทก์ ต่อมาจำเลยหย่าขาดจาก ช. จำเลยที่ 2 ขอเป็นผู้เช่าจากโจทก์ โจทก์ยินยอม ต่อมาจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีใหม่ จำเลยที่ 2 จึงขอเปลี่ยนชื่อจำเลยที่ 2 เป็นจำเลยที่ 1 เช่า โจทก์ก็ยินยอมอีกดังนี้ สัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยระงับไปด้วยการเปลี่ยนตัวผู้เช่า จำเลยที่ 2 ไม่มีฐานะเป็นผู้เช่าอีกต่อไป คงเป็นบริวารของจำเลยที่ 1 ศาลย่อมงดสืบพยานจำเลยที่ 2 เสียได้
ข้อที่ว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้มีเจตนาที่จะให้จำเลยที่ 1เป็นผู้เช่าอย่างแท้จริง ทั้งโจทก์ก็ได้ทราบถึงเจตนาที่แท้จริงระหว่างจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วยนั้น ไม่มีในคำให้การ จำเลยเพิ่งอ้างมาในฎีกาศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 จะได้ทำหนังสือให้คำมั่นแก่โจทก์ไว้อย่างไร จำเลยที่ 2 ไม่รับรอง ประเด็นข้อนี้โจทก์ไม่ต้องนำสืบเพราะการที่โจทก์อ้างหนังสือให้คำมั่นของจำเลยที่ 1 มาในฟ้องก็เพื่อฟ้องจำเลยที่ 1 เท่านั้น เมื่อได้ความว่าจำเลยที่ 1 ออกไปแล้ว โจทก์จึงถอนฟ้องจำเลยที่ 1 เสีย คำให้การของจำเลยที่ 2 ในข้อนี้ไม่เป็นประโยชน์แก่คดีของจำเลยที่ 2 ในเมื่อจำเลยที่ 2 อยู่ในฐานะบริวารของจำเลยที่ 1
ข้อที่ว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้มีเจตนาที่จะให้จำเลยที่ 1เป็นผู้เช่าอย่างแท้จริง ทั้งโจทก์ก็ได้ทราบถึงเจตนาที่แท้จริงระหว่างจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วยนั้น ไม่มีในคำให้การ จำเลยเพิ่งอ้างมาในฎีกาศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 จะได้ทำหนังสือให้คำมั่นแก่โจทก์ไว้อย่างไร จำเลยที่ 2 ไม่รับรอง ประเด็นข้อนี้โจทก์ไม่ต้องนำสืบเพราะการที่โจทก์อ้างหนังสือให้คำมั่นของจำเลยที่ 1 มาในฟ้องก็เพื่อฟ้องจำเลยที่ 1 เท่านั้น เมื่อได้ความว่าจำเลยที่ 1 ออกไปแล้ว โจทก์จึงถอนฟ้องจำเลยที่ 1 เสีย คำให้การของจำเลยที่ 2 ในข้อนี้ไม่เป็นประโยชน์แก่คดีของจำเลยที่ 2 ในเมื่อจำเลยที่ 2 อยู่ในฐานะบริวารของจำเลยที่ 1
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1020/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงตัวผู้เช่าทำให้สัญญาเช่าเดิมสิ้นสุด และฐานะของผู้เช่าเดิมกลายเป็นเพียงบริวาร
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาเช่า ขอให้ขับไล่จำเลยทั้งสามออกจากอาคารที่เช่า จำเลยที่ 2 ให้การว่า เดิม ช. สามีจำเลยที่ 2 เป็นผู้เช่าจากโจทก์ ต่อมาจำเลยหย่าขาดจาก ช. จำเลยที่ 2 ขอเป็นผู้เช่าจากโจทก์ โจทก์ยินยอม ต่อมาจำเลยที่ 2 ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีใหม่ จำเลยที่ 2 จึงขอเปลี่ยนชื่อจำเลยที่ 2 เป็นจำเลยที่ 1 เช่า โจทก์ก็ยินยอมอีก ดังนี้ สัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยระงับไปด้วยการเปลี่ยนตัวผู้เช่า จำเลยที่ 2 ไม่มีฐานะเป็นผู้เช่าอีกต่อไป คงเป็นบริวารของจำเลยที่ 1 ศาลย่อมงดสืบพยานจำเลยที่ 2 เสียได้
ข้อที่ว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้มีเจตนาที่จะให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าอย่างแท้จริง ทั้งโจทก์ก็ได้ทราบจึงเจตนาที่แท้จริงระหว่างจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วยนั้น ไม่มีในคำให้การ จำเลยเพิ่งอ้างมาในฎีกา ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 จะได้ทำหนังสือให้คำมั่นแก่โจทก์ไว้อย่างไร จำเลยที่ 2 ไม่รับรอง ประเด็นข้อนี้โจทก์ไม่ต้องนำสืบ เพราะการที่โจทก์อ้างหนังสือให้คำมั่นของจำเลยที่ 1 มาในฟ้องก็เพื่อฟ้องจำเลยที่ 1 เท่านั้น เมื่อได้ความว่าจำเลยที่ 1 ออกไปแล้ว โจทก์จึงถอนฟ้องจำเลยที่ 1 เสีย คำให้การของจำเลยที่ 2 ในข้อนี้ไม่เป็นประโยชน์แก่คดีของจำเลยที่ 2 ในเมื่อจำเลยที่ 2 อยู่ในฐานะบริวารของจำเลยที่ 1
ข้อที่ว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้มีเจตนาที่จะให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้เช่าอย่างแท้จริง ทั้งโจทก์ก็ได้ทราบจึงเจตนาที่แท้จริงระหว่างจำเลยที่ 1 ที่ 2 ด้วยนั้น ไม่มีในคำให้การ จำเลยเพิ่งอ้างมาในฎีกา ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
จำเลยที่ 2 ให้การต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 จะได้ทำหนังสือให้คำมั่นแก่โจทก์ไว้อย่างไร จำเลยที่ 2 ไม่รับรอง ประเด็นข้อนี้โจทก์ไม่ต้องนำสืบ เพราะการที่โจทก์อ้างหนังสือให้คำมั่นของจำเลยที่ 1 มาในฟ้องก็เพื่อฟ้องจำเลยที่ 1 เท่านั้น เมื่อได้ความว่าจำเลยที่ 1 ออกไปแล้ว โจทก์จึงถอนฟ้องจำเลยที่ 1 เสีย คำให้การของจำเลยที่ 2 ในข้อนี้ไม่เป็นประโยชน์แก่คดีของจำเลยที่ 2 ในเมื่อจำเลยที่ 2 อยู่ในฐานะบริวารของจำเลยที่ 1
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1016/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมยกที่ดินเพื่อจำนองสหกรณ์ มิได้เจตนายกให้โดยเสน่หา เป็นโมฆะ ที่ดินยังเป็นของผู้ยก
จำเลยทำหนังสือจดทะเบียนยกที่ดินพิพาทให้ ส. โดยมิได้ตั้งใจยกให้โดยเสน่หา แต่กระทำไปเพื่อ ส. จะได้นำไปจำนองไว้กับสหกรณ์ แล้วเอาเงินมาให้จำเลยใช้สอย นิติกรรมดังกล่าวจึงเป็นโมฆะ เป็นผลให้ที่ดินพิพาทไม่เคยตกทอดเป็นของ ส. แต่ยังคงเป็นของจำเลยตลอดมา ฉะนั้น เมื่อ ส. ตายไปเสียก่อนที่จะนำที่ดินพิพาทไปจำนองสหกรณ์ ที่ดินดังกล่าวจึงไม่ใช่มรดก ส. ทายาท ส. ไม่มีสิทธิฟ้องขอแบ่งได้