พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1016/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมยกที่ดินเพื่อจำนองสหกรณ์ มิได้เจตนายกให้โดยเสน่หา เป็นโมฆะ ที่ดินยังเป็นของผู้ยก
จำเลยทำหนังสือจดทะเบียนยกที่ดินพิพาทให้ ส. โดยมิได้ตั้งใจยกให้โดยเสน่หา แต่กระทำไปเพื่อ ส. จะได้นำไปจำนองไว้กับสหกรณ์ แล้วเอาเงินมาให้จำเลยใช้สอย นิติกรรมดังกล่าวจึงเป็นโมฆะ เป็นผลให้ที่ดินพิพาทไม่เคยตกทอดเป็นของ ส. แต่ยังคงเป็นของจำเลยตลอดมา ฉะนั้น เมื่อ ส. ตายไปเสียก่อนที่จะนำที่ดินพิพาทไปจำนองสหกรณ์ ที่ดินดังกล่าวจึงไม่ใช่มรดก ส. ทายาท ส. ไม่มีสิทธิฟ้องขอแบ่งได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมกันเพื่อหลีกเลี่ยงชำระหนี้เจ้าหนี้ ถือเป็นการโกงเจ้าหนี้และทำละเมิด
จำเลยสมยอมกันทำสัญญากู้และสมยอมกันทำยอมความในศาลเป็นผลให้เกิดการโอนทรัพย์สินของจำเลยคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งให้พ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาทำให้โจทก์ไม่อาจบังคับเอาทรัพย์สินของจำเลยมาชำระหนี้ได้ เป็นการจงใจทำโดยผิดกฎหมายอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ โจทก์ย่อมเสียหายทางทรัพย์สินแล้ว การกระทำผิดกฎหมายดังนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 422 ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยเป็นผู้ผิดคือได้ทำละเมิดต่อโจทก์ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสองย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกัน นิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสองย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกัน นิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมกันทำหนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการชำระหนี้เจ้าหนี้ เป็นละเมิดและโกงเจ้าหนี้
จำเลยสมยอมกันทำสัญญากู้และสมยอมกันทำยอมความในศาลเป็นผลให้เกิดการโอนทรัพย์สินของจำเลยคนหนึ่ง ไปยังอีกคนหนึ่งให้พ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาทำให้โจทก์ไม่อาจบังคับเอาทรัพย์สินของจำเลยมาชำระหนี้ได้เป็นการจงใจทำโดยผิดกฎหมายอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้โจทก์ย่อมเสียหาย ทางทรัพย์สินแล้ว การกระทำผิดกฎหมายดังนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 422 ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยเป็นผู้ผิดคือได้ทำละเมิดต่อโจทก์ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสอง ย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกันนิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสอง ย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกันนิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 589/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องซ้ำและการนำสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารสัญญากู้ยืม: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นการฟ้องซ้ำและขอบเขตการนำสืบพยานเพื่อหักล้างข้อตกลงในสัญญา
โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีล้มละลายด้วยมูลหนี้สัญญากู้ เมื่อศาลยกฟ้องแล้วโจทก์นำสัญญากู้นั้นมาฟ้องเรียกเงินกู้จากจำเลยอีกดังนี้ ไม่เป็นการฟ้องซ้ำ
จำเลยรับว่าได้ทำสัญญากู้ไว้ให้โจทก์จริงและในสัญญามีข้อความว่าได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่จะให้จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยไม่ได้กู้เงินโจทก์ แต่ได้ทำสัญญากู้ไว้เพื่อเป็นประกัน ป.ลูกหนี้ของโจทก์ ดังนี้ เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
จำเลยรับว่าได้ทำสัญญากู้ไว้ให้โจทก์จริงและในสัญญามีข้อความว่าได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่จะให้จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยไม่ได้กู้เงินโจทก์ แต่ได้ทำสัญญากู้ไว้เพื่อเป็นประกัน ป.ลูกหนี้ของโจทก์ ดังนี้ เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 589/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องซ้ำและการนำสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารสัญญากู้: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นข้อต่อสู้เรื่องประกันหนี้
โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีล้มละลายด้วยมูลหนี้สัญญากู้ เมื่อศาลยกฟ้องแล้วโจทก์นำสัญญากู้นั้นมาฟ้องเรียกเงินกู้จากจำเลยอีก ดังนี้ ไม่เป็นการฟ้องซ้ำ
จำเลยรับว่าได้ทำสัญญากู้ไว้ให้โจทก์จริงและในสัญญามีข้อความว่าได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่จะให้จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยไม่ได้กู้เงินโจทก์ แต่ได้ทำสัญญากู้ไว้เพื่อเป็นประกัน ป. ลูกหนี้ของโจทก์ ดังนี้ เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
จำเลยรับว่าได้ทำสัญญากู้ไว้ให้โจทก์จริงและในสัญญามีข้อความว่าได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่จะให้จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยไม่ได้กู้เงินโจทก์ แต่ได้ทำสัญญากู้ไว้เพื่อเป็นประกัน ป. ลูกหนี้ของโจทก์ ดังนี้ เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, ความรับผิดร่วมกัน, ตัวแทน, ละเมิด
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้ การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้ เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่ เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกัน ซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กังจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์ และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้วขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยชำระหนี้ที่ออกให้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่ เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วยย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาของข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใดในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจ พิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กังจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์ และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้วขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยชำระหนี้ที่ออกให้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่ เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วยย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาของข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใดในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจ พิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, และความรับผิดของคู่สัญญา/ตัวแทน
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้. การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179. คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องภายหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้. เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว. ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่.เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกันซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว.
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่. จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา.ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น. แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด.คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว. ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์. ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้.
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก. เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง. ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่.
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน. จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1ประกอบกิจการทำเหมืองแร่. แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่2. ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย. โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้. แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา. จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่.เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้. การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคล.ยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย. ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต. และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้.
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว.จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง. ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด.ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด.
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้.
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่. จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา.ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น. แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิด.คำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว. ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์. ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้.
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก. เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง. ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่.
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน. จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1ประกอบกิจการทำเหมืองแร่. แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่2. ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1.
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย. โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้. แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา. จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่.เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้. การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคล.ยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย. ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต. และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้.
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว.จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง. ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด.ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด.
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1730/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาทำเหมืองแร่, การผิดสัญญา, ละเมิด, ตัวแทน, ความรับผิดร่วม
เมื่อศาลอนุญาตให้โจทก์ฟ้องอย่างคนอนาถาได้ การที่โจทก์จะขอแก้ฟ้องในภายหลังได้หรือไม่นั้น ต้องอยู่ในบังคับแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 คือคำฟ้องเดิมและคำฟ้องภายหลังจะต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้ เมื่อศาลเห็นว่าเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอนุญาตให้แก้ฟ้องได้แล้ว ก็หาจำเป็นที่ศาลจะต้องไต่สวนเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้ฟ้องอย่างคนอนาถาสำหรับคำฟ้องภายหลังอีกไม่เพราะถือได้ว่า ยังคงเป็นคำฟ้องในคดีเดียวกันซึ่งศาลได้ไต่สวนและมีคำสั่งอนุญาตไว้แล้ว
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิดคำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่ แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
ตามคำฟ้องเดิม โจทก์ฟ้องว่า โจทก์กับจำเลยทำสัญญากันให้จำเลยชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไว้เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์จำเลยประกอบกิจการทำเหมืองแร่ จำเลยไม่ปฏิบัติตามสัญญา ไม่จัดตั้งบริษัทขึ้น แต่กลับขุดเอาแร่ของโจทก์ไปขายเป็นประโยชน์ส่วนตัว เป็นทั้งผิดสัญญาและละเมิดคำร้องขอแก้ฟ้องของโจทก์กล่าวความเดิมที่จำเลยทำผิดสัญญาและโจทก์บอกเลิกสัญญาแล้ว ขอให้ศาลพิพากษาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยให้จำเลยรับชำระหนี้ที่ออกใช้แทนโจทก์ไป และโอนประทานบัตรพิพาทคืนให้โจทก์ ดังนี้ย่อมเป็นคำฟ้องที่เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเข้าด้วยกันได้
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำสัญญาฉบับแรก แล้วต่อมาทำสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งมีข้อความลบล้างสัญญาฉบับแรก เพื่อใช้ขู่เจ้าหนี้ของโจทก์ให้ยอมรับชำระหนี้และโอนที่ดินประทานบัตรซึ่งเป็นประกันคืนโดยโจทก์จำเลยมิได้มีเจตนาผูกพันกันจริงจัง ดังนี้ สัญญาฉบับหลังหามีผลเป็นการยกเลิกสัญญาฉบับแรกไม่
ตามสัญญาที่โจทก์กับจำเลยที่ 1 ทำไว้ต่อกัน จำเลยจะต้องชำระหนี้แทนโจทก์และรับโอนที่ดินประทานบัตรของโจทก์เพื่อจัดตั้งบริษัทร่วมทุนระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ประกอบกิจการทำเหมืองแร่ แต่จำเลยที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการ ได้เข้าปฏิบัติการชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และรับโอนประทานบัตรของโจทก์มาในนามจำเลยที่ 2 ถือได้ว่าการชำระหนี้และรับโอนประทานบัตรดังกล่าวจำเลยที่ 2 กระทำในฐานะเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1
ตามสัญญาที่ทำไว้ โจทก์กับจำเลยที่ 1 จะต้องจัดตั้งบริษัทขึ้น เพื่อประกอบกิจการทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ที่โอนให้จำเลย โดยโจทก์จำเลยต่างเป็นผู้ถือหุ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ แต่เมื่อบริษัทยังมิได้จัดตั้งขึ้นตามสัญญา จำเลยจะถือสิทธิเข้าไปทำเหมืองแร่ในที่ดินประทานบัตรนั้นโดยลำพังหาได้ไม่เพราะผิดข้อตกลงที่ทำไว้ การที่จำเลยที่ 1 เข้าดำเนินการและในฐานะที่จำเลยที่ 1 เป็นกรรมการผู้จัดการและผู้แทนของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลยินยอมให้จำเลยที่ 2 เข้าร่วมดำเนินการขุดหาแร่ โดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมหรือเกี่ยวข้องด้วย ย่อมเป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต และเป็นการผิดสัญญาที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเสียได้
การที่จำเลยทั้งสองเข้าดำเนินการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จำเลยต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ โดยจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดในฐานผิดสัญญาและข้อตกลง ส่วนจำเลยที่ 2 ซึ่งไม่มีสิทธิอย่างใด ในการขุดเอาแร่ในที่ดินประทานบัตรของโจทก์ ต้องรับผิดฐานละเมิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 ศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจพิพากษาให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้เสียค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง หรือจะให้เป็นพับกันไปก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1729/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งนายกฯ ตาม ม.17, นิติกรรมอำพราง, การจำนำทรัพย์สิน และความรับผิดในหนี้
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรเป็นกฎหมายสูงสุด บทกฎหมายใดที่ขัดกับธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรย่อมจะนำมาใช้บังคับไม่ได้. คำสั่งของนายกรัฐมนตรีที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 17 แห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย. ผู้ใดจะอ้างว่าคำสั่งดังกล่าวขัดต่อกฎหมายนั้น ย่อมฟังไม่ได้.
การวินิจฉัยว่าคำสั่งหรือการกระทำชอบด้วยมาตรา 17หรือไม่นั้น. อยู่ที่ความเห็นของนายกรัฐมนตรีโดยมติคณะรัฐมนตรีว่าสมควรต้องมีคำสั่งหรือกระทำ มิได้อยู่ที่มีพฤติการณ์บ่อนทำลายจริงหรือไม่. และมาตรา 17 มิได้ระบุให้ใช้มาตรการเช่นนั้นแก่ผู้กระทำการบ่อนทำลายโดยเฉพาะ. แต่ให้ใช้เพื่อระงับหรือปราบปรามการกระทำที่เป็นการบ่อนทำลาย. แม้ผู้กระทำการบ่อนทำลายตายไปแล้วแต่ผลแห่งการกระทำยังอยู่ ผู้ได้ร่วมรับผลนั้นด้วยย่อมอยู่ในข่ายแห่งมาตรา 17(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 494/2510).
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้เงินบริษัทบางกอกกระสอบ จำกัด โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน.จำเลยต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ใช่ผู้กู้. จำเลยที่2 ในฐานะเจ้าของร่วม ในฐานะทายาทและในฐานะผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้กู้เงินรายนี้. โดยได้สมรู้ร่วมกันกับบริษัทเจ้าหนี้ปกปิดอำพรางนิติกรรมอันแท้จริงไว้ โดยให้เอาชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ไว้เป็นพิธี และให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน. หากข้อเท็จจริงฟังได้ตามข้อต่อสู้ของจำเลย การทำสัญญากู้ระหว่างจำเลยที่ 1 กับบริษัทเจ้าหนี้นั้น ก็เป็นการแสดงเจตนาลวงไว้เท่านั้น โดยทั้งสองฝ่ายต่างก็รู้กันอยู่แล้ว. เมื่อนิติกรรมทำขึ้นโดยเจตนาลวง จำเลยที่1 ก็ไม่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118. (ข้อกฎหมายวรรคนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่23,24,25,26,27,28/2512).
สัญญาจำนำไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือ. ลูกหนี้ย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ว่า ได้มีการมอบใบหุ้นให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นการจำนำ.
การวินิจฉัยว่าคำสั่งหรือการกระทำชอบด้วยมาตรา 17หรือไม่นั้น. อยู่ที่ความเห็นของนายกรัฐมนตรีโดยมติคณะรัฐมนตรีว่าสมควรต้องมีคำสั่งหรือกระทำ มิได้อยู่ที่มีพฤติการณ์บ่อนทำลายจริงหรือไม่. และมาตรา 17 มิได้ระบุให้ใช้มาตรการเช่นนั้นแก่ผู้กระทำการบ่อนทำลายโดยเฉพาะ. แต่ให้ใช้เพื่อระงับหรือปราบปรามการกระทำที่เป็นการบ่อนทำลาย. แม้ผู้กระทำการบ่อนทำลายตายไปแล้วแต่ผลแห่งการกระทำยังอยู่ ผู้ได้ร่วมรับผลนั้นด้วยย่อมอยู่ในข่ายแห่งมาตรา 17(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 494/2510).
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้เงินบริษัทบางกอกกระสอบ จำกัด โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน.จำเลยต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ใช่ผู้กู้. จำเลยที่2 ในฐานะเจ้าของร่วม ในฐานะทายาทและในฐานะผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้กู้เงินรายนี้. โดยได้สมรู้ร่วมกันกับบริษัทเจ้าหนี้ปกปิดอำพรางนิติกรรมอันแท้จริงไว้ โดยให้เอาชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ไว้เป็นพิธี และให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน. หากข้อเท็จจริงฟังได้ตามข้อต่อสู้ของจำเลย การทำสัญญากู้ระหว่างจำเลยที่ 1 กับบริษัทเจ้าหนี้นั้น ก็เป็นการแสดงเจตนาลวงไว้เท่านั้น โดยทั้งสองฝ่ายต่างก็รู้กันอยู่แล้ว. เมื่อนิติกรรมทำขึ้นโดยเจตนาลวง จำเลยที่1 ก็ไม่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา118. (ข้อกฎหมายวรรคนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่23,24,25,26,27,28/2512).
สัญญาจำนำไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือ. ลูกหนี้ย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ว่า ได้มีการมอบใบหุ้นให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นการจำนำ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1729/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งนายกฯ ตาม ม.17 ชอบด้วยกฎหมาย, นิติกรรมอำพราง, การจำนำหุ้นเป็นประกันหนี้, ศาลต้องสืบพยานเพิ่มเติม
ธรรมนูญการปกครองราชอาญาจักรเป็นกฎหมายสูงสุด บทกฎหมายใดที่ขัดกับธรรมนูญการปกครองราชาอาณาจักรย่อมจะนำมาใช้บังคับไม่ได้ คำสั่งของนายกรัฐมนตรีที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 17 แห่งธรรมนูญการปกครองราชอาญาจักร จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ใดจะอ้างว่า คำสั่งดังกล่าวขัดต่อกฎหมายนั้น ย่อมฟังไม่ได้
การวินิจฉัยว่าคำสั่งหรือการกระทำชอบด้วยมาตรา 17 หรือไม่นั้น อยู่ที่ความเห็นของนายกรัฐมนตรีโดยมติคณะรัฐมนตรีว่าสมควรต้องมีคำสั่งหรือกระทำ มิได้อยู่ที่มีพฤติการณ์บ่อนทำลายจริงหรือไม่ และมาตรา 17 มิได้ระบุให้ใช้มาตรการเช่นนั้นแก่ผู้กระทำการบ่อนทำลายโดยเฉพาะ แต่ให้ใช่เพื่อระงับหรือปราบปรามการกระทำที่เป็นการบ่อนทำลาย แม้ผู้กระทำการบ่อนทำลายตายไปแล้วแต่ผลแห่งการกระทำยังอยู่ ผู้ได้ร่วมรับผลนั้นด้วยย่อมอยู่ในข่ายแห่งมาตรา 17 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 494/2510)
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้เงินบริษัทบางกอกกระสอบ จำกัด โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน จำเลยต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ใช่ผู้กู้ จำเลยที่ 2 ในฐานะเจ้าของร่วม ในฐานะทายาทและในฐานะผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้กู้เงินรายนี้ โดยได้สมรู้ร่วมกันกับบริษัทเจ้าหนี้ปกปิดอำพรางนิติกรรมอันแท้จริงไว้ โดยให้เอาชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ไว้เป็นพิธี และให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน หากข้อเท็จจริงฟังได้ตามข้อต่อสู้ของจำเลย การทำสัญญากู้ระหว่างจำเลยที่ 1 กับบริษัทเจ้าหนี้นั้น ก็เป็นการแสดงเจตนาลวงไว้เท่านั้น โดยทั้งสองฝ่ายต่างก็รู้กันอยู่แล้วเมื่อนิติกรรมทำขึ้นโดยเจตนาลวง จำเลยที่ 1 ก็ไม่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 118
(ข้อกฎหมายวรรคนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23,24,25,26,27,28/2512)
สัญญาจำนำไม่จำเป็นต้องเป็นหนังสือ ลูกหนี้ย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ว่า ได้มีการมอบใบหุ้นให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นการจำนำ
การวินิจฉัยว่าคำสั่งหรือการกระทำชอบด้วยมาตรา 17 หรือไม่นั้น อยู่ที่ความเห็นของนายกรัฐมนตรีโดยมติคณะรัฐมนตรีว่าสมควรต้องมีคำสั่งหรือกระทำ มิได้อยู่ที่มีพฤติการณ์บ่อนทำลายจริงหรือไม่ และมาตรา 17 มิได้ระบุให้ใช้มาตรการเช่นนั้นแก่ผู้กระทำการบ่อนทำลายโดยเฉพาะ แต่ให้ใช่เพื่อระงับหรือปราบปรามการกระทำที่เป็นการบ่อนทำลาย แม้ผู้กระทำการบ่อนทำลายตายไปแล้วแต่ผลแห่งการกระทำยังอยู่ ผู้ได้ร่วมรับผลนั้นด้วยย่อมอยู่ในข่ายแห่งมาตรา 17 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 494/2510)
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้เงินบริษัทบางกอกกระสอบ จำกัด โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน จำเลยต่อสู้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ใช่ผู้กู้ จำเลยที่ 2 ในฐานะเจ้าของร่วม ในฐานะทายาทและในฐานะผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้กู้เงินรายนี้ โดยได้สมรู้ร่วมกันกับบริษัทเจ้าหนี้ปกปิดอำพรางนิติกรรมอันแท้จริงไว้ โดยให้เอาชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ไว้เป็นพิธี และให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน หากข้อเท็จจริงฟังได้ตามข้อต่อสู้ของจำเลย การทำสัญญากู้ระหว่างจำเลยที่ 1 กับบริษัทเจ้าหนี้นั้น ก็เป็นการแสดงเจตนาลวงไว้เท่านั้น โดยทั้งสองฝ่ายต่างก็รู้กันอยู่แล้วเมื่อนิติกรรมทำขึ้นโดยเจตนาลวง จำเลยที่ 1 ก็ไม่ต้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 118
(ข้อกฎหมายวรรคนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 23,24,25,26,27,28/2512)
สัญญาจำนำไม่จำเป็นต้องเป็นหนังสือ ลูกหนี้ย่อมนำสืบพยานบุคคลได้ว่า ได้มีการมอบใบหุ้นให้เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นการจำนำ