คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
อาชญา ม. 270

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 160/2478

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจสืบพยานจำเลยชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา และการยกฟ้องเมื่อไม่มีมูล
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องศาลมีอำนาจสืบพะยานจำเลยได้ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญาเมื่อศาลเห็นว่าคดีไม่มีมูลก็ให้ยกฟ้องเสียได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 978/2477

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การปิดกั้นทางเข้าออกห้องเช่าของผู้เช่าค้างชำระค่าเช่า ไม่ถือเป็นความผิดฐานกักขัง หากยังมีทางออกอื่น
ผู้เช่าค้างชำระค่าเช่าไล่ให้ออกก็ไม่ยอมออก จึงปิดประตูหน้าต่างเสีย แต่ผู้เช่ายังออกทางหลังห้องเช่าได้ดังนี้ ยังไม่เป็นผิดฐานกักขังตาม ม.270 วิธีพิจารณาอาชญา หลักวินิจฉัย กรณีที่เป็นข้อสงสัยว่าศาลยังไม่ได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงบางข้อ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 582/2477

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจับกุมโดยไม่มีมูลความผิด: การกระทำที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพและต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
เพียงแต่สงสัยว่าเขาเป็นคนร้ายก็บอกให้ตำรวจจับกุมเขาโดยหาว่าเป็นคนร้าย หากการสงสัยนั้นเป็นไปโดยไร้เหตุผลแลให้จับโดยไม่มีมูลต้องมีผิดตามกฎหมายข้างบน พ.ร.บ.ลักษณอุทธรณ์ พ.ศ.2473 ม.3-4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 745/2474

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแจ้งความเท็จและการขาดเจตนาความผิดทางอาญา: การฎีกาต้องอ้างอิงข้อกฎหมายชัดเจน
บอกตำรวจจับเขาโดยเชื่อว่าชอบด้วยกฎหมาย ยังไม่มีผิดข้อกฎหมายต้องแสดงโดยชัดเจน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1164/2473

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องดำเนินคดีอาญาจากข้อมูลเท็จและการเพิ่มโทษโดยศาลอุทธรณ์
การที่ผู้ใดถูกกักขังโดยอำนาจของเจ้าพนักงานตำรวจนั้น ภายหลังจะมาฟ้องขอให้ลงโทษผู้ซึ่งบอกให้ตำรวจจับตัวไปตาม ม.270 ไม่ได้ วิธีพิจารณาอาชญา พ.ร.บ. วิธีพิจารณาอาชญาใช้ไปพลางก่อน ร.ศ.115 ม.35 ศาลอุทธรณ์มีอำนาจแก้กำหนดโทษที่ศาลล่างวางมาได้ พ.ร.บ. ฎีกาอุทธรณ์ ม.8 ความเปนคนในบังคับอังกฤษ ฎีกาได้แต่ในปัญหากฎหมาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2472

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจกักขังพยาน - ผู้ต้องสงสัย: ความแตกต่างทางกฎหมายและการลงโทษ
เจ้าพนักงานไม่มีอำนาจกักขังบุคคลที่เรียกมาเปนพะยานได้