พบผลลัพธ์ทั้งหมด 191 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินมรดก การแบ่งสินสมรส และอายุความคดีครอบครองปรปักษ์
โจทก์ฟ้องว่า ที่พิพาทเป็นของ ด. ด. ตายที่พิพาทเป็นมรดกตกได้แก่โจทก์ผู้เป็นภริยาและบุตรของ ด.ขอให้แบ่งตามส่วน จำเลยให้การต่อสู้ว่ายายจำเลยยกที่พิพาทให้ด. ต่อมาด.ยกให้จำเลย (ผู้เป็นบุตรของ ด.เกิดแต่ภรรยาอีกคนหนึ่ง) ตั้งแต่ด.ยังมีชีวิตอยู่ ศาลกะประเด็นนำสืบว่า ที่พิพาทนี้ ด. ได้ยกให้จำเลยตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่จริงหรือไม่ ดังนี้ ศาลก็ชอบที่จะสืบพยานตามประเด็นข้อพิพาท และพิจารณาชี้ขาดตัดสินไปตามนั้น ที่จะไปฟังตามคำพยานจำเลยว่ายายจำเลยมิได้เจตนายกที่ให้ด. ด. ปกครองที่พิพาทโดยมิได้เจตนาปกครองเป็นเจ้าของ แต่เป็นการปกครองแทนจำเลยนั้น ย่อมเป็นการขัดแย้งกับคำของจำเลย และเป็นเรื่องนอกประเด็น
โจทก์เป็นภริยาของผู้ตายก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ไม่ปรากฏว่าฝ่ายใดมีสินเดิม โจทก์จึงมีสิทธิได้รับสินสมรส 1 ใน 3 กับมีสิทธิได้ส่วนแบ่งจากส่วนที่เป็นมรดกของผู้ตายด้วย รวมเป็นเนื้อที่ 13 ไร่เศษ แต่โจทก์ได้ใช้สิทธิครอบครองที่พิพาทมาเพียง11 ไร่ นอกนั้นจำเลยเป็นฝ่ายครอบครอง ที่โจทก์ฟ้องคดีเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วเกินกว่า 1 ปี ที่มรดกนอกจากที่โจทก์ได้ครอบครองมาย่อมขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754
โจทก์เป็นภริยาของผู้ตายก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ไม่ปรากฏว่าฝ่ายใดมีสินเดิม โจทก์จึงมีสิทธิได้รับสินสมรส 1 ใน 3 กับมีสิทธิได้ส่วนแบ่งจากส่วนที่เป็นมรดกของผู้ตายด้วย รวมเป็นเนื้อที่ 13 ไร่เศษ แต่โจทก์ได้ใช้สิทธิครอบครองที่พิพาทมาเพียง11 ไร่ นอกนั้นจำเลยเป็นฝ่ายครอบครอง ที่โจทก์ฟ้องคดีเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วเกินกว่า 1 ปี ที่มรดกนอกจากที่โจทก์ได้ครอบครองมาย่อมขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกและสินสมรสหลังการเสียชีวิตของสามี โดยมีประเด็นเรื่องการครอบครองและการต่อสู้เรื่องการยกทรัพย์สิน
โจทก์ฟ้องว่า ที่พิพาทเป็นของ ค. ค.ตายที่พิพาทเป็นมรดกตกได้แก่ โจทก์ผู้เป็นภริยาและบุตรของ ค. ขอให้แบ่งตามส่วน จำเลยให้การต่อสู้ว่ายายจำเลยยกที่พิพาทให้ ค. ต่อมา ค. ยกให้จำเลย (ผู้เป็นบุตรของ ค. เกิดแต่ภรรยาอีกคนหนึ่ง) ตั้งแต่ ค. ยังมีชีวิตอยู่ ศาลกะประเด็นนำสืบว่า ที่พิพาทนี้ ค. ได้ยกให้จำเลยตั้งแต่ยังมีชีวิตอยู่จริงหรือไม่ ดังนี้ ศาลก็ชอบที่จะสืบพยานตามประเด็นข้อพิพาท และพิจารณาชี้ขาดตัดสินไปตามนั้น ที่จะไปฟังตามคำพยานจำเลยว่ายายจำเลยมิได้เจตนายกที่ให้ ค. ค.ปกครองที่พิพาทโดยมิได้เจตนาหกครองเป็นเจ้าของ แต่เป็นการปกครองแทนจำเลยนั้น ย่อมเป็นการขัดแย้งกับคำของจำเลย และเป็นเรื่องนอกประเด็น
โจทก์เป็นภริยาของผู้ตายก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ไม่ปรากฏว่าฝ่ายใดมีสินเดิม โจทก์จึงมีสิทธิได้รับสินสมรส 1 ใน 3 กับมีสิทธิได้ส่วนแบ่งจากส่วนที่เป้นมรดกของผู้ตายด้วย รวมเป็นเนื้อที่ 13 ไร่เศษ แต่โจทก์ได้ใช้สิทธิครอบครองที่พิพาทมาเพียง 11 ไร่ นอกนั้นจำเลยเป็นฝ่ายครอบครอง ที่โจทก์ฟ้องคดีเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วเกินกว่า 1 ปี ที่มรดกนอกจากที่โจทก์ได้ครอบครองมาย่อมขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754.
โจทก์เป็นภริยาของผู้ตายก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ไม่ปรากฏว่าฝ่ายใดมีสินเดิม โจทก์จึงมีสิทธิได้รับสินสมรส 1 ใน 3 กับมีสิทธิได้ส่วนแบ่งจากส่วนที่เป้นมรดกของผู้ตายด้วย รวมเป็นเนื้อที่ 13 ไร่เศษ แต่โจทก์ได้ใช้สิทธิครอบครองที่พิพาทมาเพียง 11 ไร่ นอกนั้นจำเลยเป็นฝ่ายครอบครอง ที่โจทก์ฟ้องคดีเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วเกินกว่า 1 ปี ที่มรดกนอกจากที่โจทก์ได้ครอบครองมาย่อมขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 905/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งที่ดินมรดกและที่งอกหน้าดิน โดยการยกให้ด้วยวาจาไม่สมบูรณ์ และสิทธิในการแบ่งมรดก
การยกที่ดินมีโฉนดให้โดยเพียงแต่พูดด้วยวาจาไม่ได้ทำเป็นหนังสือจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ทำชอบด้วยกฏหมายไม่
ทรัพย์มรดก เมื่อทายาทได้ปกครองร่วมกันมาแม้จะล่วงพ้นกำหนด 1 ปี หลังจากเจ้ามรดกตายแล้วก็ตาม แต่ยังไม่ถึง 10 ปี ทายาทย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นได้
ที่งอกหน้าที่ดินย่อมตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น
ที่งอกหน้าที่ดิน เมื่อมีผู้ครอบครองเป็นส่วนสัดโดยความสงบและเปิดเผย ด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมากว่า 10 ปี ที่งอกนั้นย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ครอบครอง
ทรัพย์มรดก เมื่อทายาทได้ปกครองร่วมกันมาแม้จะล่วงพ้นกำหนด 1 ปี หลังจากเจ้ามรดกตายแล้วก็ตาม แต่ยังไม่ถึง 10 ปี ทายาทย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นได้
ที่งอกหน้าที่ดินย่อมตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น
ที่งอกหน้าที่ดิน เมื่อมีผู้ครอบครองเป็นส่วนสัดโดยความสงบและเปิดเผย ด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมากว่า 10 ปี ที่งอกนั้นย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ครอบครอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 905/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกที่ดินด้วยวาจายังไม่สมบูรณ์, สิทธิการแบ่งมรดก, การครอบครองปรปักษ์, ที่งอก
การยกที่ดินมีโฉนดให้โดยเพียงแต่พูดด้วยวาจาไม่ได้ทำเป็นหนังสือจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หาชอบด้วยกฎหมายไม่
ทรัพย์มรดก เมื่อทายาทได้ปกครองร่วมกันมา แม้จะล่วงพ้นกำหนด1 ปี หลังจากเจ้ามรดกตายแล้วก็ตาม แต่ยังไม่ถึง 10 ปี ทายาทย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นได้
ที่งอกหน้าที่ดินย่อมตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น
ที่งอกหน้าที่ดิน เมื่อมีผู้ครอบครองเป็นส่วนสัดโดยความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมากว่า 10 ปีที่งอกนั้นย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ครอบครอง
ทรัพย์มรดก เมื่อทายาทได้ปกครองร่วมกันมา แม้จะล่วงพ้นกำหนด1 ปี หลังจากเจ้ามรดกตายแล้วก็ตาม แต่ยังไม่ถึง 10 ปี ทายาทย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งมรดกนั้นได้
ที่งอกหน้าที่ดินย่อมตกเป็นทรัพย์สินของเจ้าของที่ดินแปลงนั้น
ที่งอกหน้าที่ดิน เมื่อมีผู้ครอบครองเป็นส่วนสัดโดยความสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของมากว่า 10 ปีที่งอกนั้นย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ครอบครอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองแทนบุตรยังเยาว์และการขาดอายุความในการเรียกร้องสิทธิในมรดก
มารดาครอบครองที่มรดกที่ไว้แทนบุตรตั้งแต่ยังเยาว์จนกระทั่งมารดาตายก็ไม่ปรากฏว่ามารดาได้แสดงว่าไม่เจตนายึดถือครอบครองที่มรดกนั้นแทนบุตร ดังนี้ แม้จะเป็นเวลาช้านานเท่าใดก็ไม่ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 และมารดาไม่มีสิทธิจะนำเอาทรัพย์สินส่วนของบุตรไปทำพินัยกรรมยกให้แก่คนอื่นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองมรดกแทนบุตรยังเยาว์ไม่ขาดอายุความ และสิทธิในทรัพย์สินมรดก
มารดาครอบครองที่มรดกไว้แทนบุตรตั้งแต่ยังเยาว์จนกระทั่งมารดาตายก็ไม่ปรากฏว่ามารดาได้แสดงว่าไม่เจตนายึดถือครอบครองที่มรดกนั้นแทนบุตรดังนี้ แม้จะเป็นเวลาช้านานเท่าใดก็ไม่ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 และมารดาไม่มีสิทธิจะนำเอาทรัพย์สินส่วนของบุตรไปทำพินัยกรรมยกให้แก่คนอื่นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองมรดกเป็นเจ้าของร่วม ยุติอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา 1754 ไม่ใช้บังคับ
เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกได้ครอบครองมรดกร่วมกัน แม้เพียง 1 เดือนก็ถือได้ว่าได้ร่วมกันรับมรดกดังกล่าวและเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันแล้ว เมื่อทายาทฝ่ายหนึ่งมาฟ้องขอแบ่งทรัพย์มรดกดังกล่าวนั้น จึงเป็นการฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์ซึ่งทายาทฝ่ายนั้นเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วย จะนำอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 มาใช้บังคับไม่ได้
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันมา ต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่น จำเลยจึงครอบครอบทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกัน มิใช่เป็นการเข้าแย่งการครองครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1375
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันมา ต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่น จำเลยจึงครอบครอบทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกัน มิใช่เป็นการเข้าแย่งการครองครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1375
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันไม่ทำให้เกิดอายุความ ย่อมฟ้องแบ่งได้แม้ครอบครองคนเดียว
เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกได้ครอบครองมรดกร่วมกัน แม้เพียง 1 เดือนก็ถือได้ว่าได้ร่วมกันรับมรดกดังกล่าวและเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันแล้ว เมื่อทายาทฝ่ายหนึ่งมาฟ้องขอแบ่งทรัพย์มรดกดังกล่าวนั้น จึงเป็นการฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์ซึ่งทายาทฝ่ายนั้นเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วยจะนำอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 มาใช้บังคับไม่ได้
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่นจำเลยจึงครอบครองทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกันมิใช่เป็นการเข้าแย่งการครอบครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่นจำเลยจึงครอบครองทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกันมิใช่เป็นการเข้าแย่งการครอบครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 68/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดกและการครอบครองทรัพย์มรดกต่อเนื่อง หากฟ้องคดีแรกขาดอายุความแล้ว คดีหลังก็ขาดอายุความตามไปด้วย
คดีเรื่องก่อน โจทก์ซึ่งเป็นทายาทคนหนึ่งฟ้องนางสาวเสงี่ยมซึ่งเป็นทายาทด้วยกันขอส่วนแบ่งมรดก ทายาทคนอื่นมิได้เข้าเป็นคู่ความร่วมเพื่อขอส่วนแบ่งด้วย คดีถึงที่สุดโดยโจทก์กับนางสาวเสงี่ยมตกลงประนีประนอมยอมความกันให้ที่นามรดกโฉนดที่ 2154 และ 2155 ได้แก่โจทก์ ทรัพย์นอกนั้นได้แก่นางสาวเสงี่ยม ต่อมาโจทก์ไปจัดการขอรับมรดกที่ดินโฉนดนั้นต่อสำนักงานที่ดิน ทายาทอื่นได้โต้แย้งการรับมรดก โจทก์จึงฟ้องทายาทอื่นเป็นจำเลยขอให้ห้ามจำเลยเข้าเกี่ยวข้องและถอนคำโต้แย้งนั้น จำเลยให้การตัดฟ้องว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความมรดก ดังนี้ การฟ้องร้องคดีเรื่องก่อนต้องฟ้องภายในอายุความ คือภายใน 1 ปี อายุความจึงจะสะดุดหยุดอยู่ อันอาจเป็นเหตุทำให้โจทก์ฟ้องคดีเรื่องหลังเกินกว่า 1 ปีได้ แต่ปรากฎว่าเจ้ามรดกตายเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2501 แต่โจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2502 เป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ขาดอายุความแล้ว ดังนั้นการฟ้องคดีเรื่องก่อนของโจทก์จึงไม่เป็นเหตุทำให้โจทก์มีสิทธิฟ้องคดีเรื่องหลังได้เกินกว่า 1 ปี เมื่อคดีเรื่องหลังปรากฎว่าจำเลยเป็นฝ่ายครอบครองนาพิพาทรายนี้ตลอดมา และนับแต่เจ้ามรดกตาย โจทก์มิได้ครอบครองนาพิพาทรายนี้เลยเป็นเวลาเกือบ 2 ปี คดีเรื่องหลังของโจทก์ย่อมขาดอายุความมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 68/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความมรดก: การฟ้องขอส่วนแบ่งมรดกและการครอบครองทรัพย์สิน
คดีเรื่องก่อน โจทก์ซึ่งเป็นทายาทคนหนึ่งฟ้องนางสาวเสงี่ยมซึ่งเป็นทายาทด้วยกันขอส่วนแบ่งมรดก ทายาทคนอื่นมิได้เข้าเป็นคู่ความร่วมเพื่อขอส่วนแบ่งด้วยคดีถึงที่สุดโดยโจทก์กับนางสาวเสงี่ยมตกลงประนีประนอมยอมความกันให้ที่นามรดกโฉนดที่ 2154 และ 2155 ได้แก่ โจทก์ทรัพย์นอกนั้นได้แก่นางสาวเสงี่ยม ต่อมาโจทก์ไปจัดการขอรับมรดกที่ดินโฉนดนั้นต่อสำนักงานที่ดิน ทายาทอื่นได้โต้แย้งการรับมรดกโจทก์จึงฟ้องทายาทอื่นเป็นจำเลยขอให้ห้ามจำเลยเข้าเกี่ยวข้องและถอนคำโต้แย้งนั้นจำเลยให้การตัดฟ้องว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความมรดก ดังนี้ การฟ้องร้องคดีเรื่องก่อนต้องฟ้องภายในอายุความ คือ ภายใน1 ปี อายุความจึงจะสะดุดหยุดอยู่ อันอาจเป็นเหตุทำให้โจทก์ฟ้องคดีเรื่องหลังเกินกว่า 1 ปีได้ แต่ปรากฏว่าเจ้ามรดกตายเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2501 แต่โจทก์ฟ้องคดีเรื่องก่อนเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2502 เป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ขาดอายุความแล้ว ดังนั้นการฟ้องคดีเรื่องก่อนของโจทก์จึงไม่เป็นเหตุทำให้โจทก์มีสิทธิฟ้องคดีเรื่องหลังได้เกินกว่า 1 ปี เมื่อคดีเรื่องหลังปรากฏว่าจำเลยเป็นฝ่ายครอบครองนาพิพาทรายนี้ตลอดมา และนับแต่เจ้ามรดกตาย โจทก์มิได้ครอบครองนาพิพาทรายนี้เลยเป็นเวลาเกือบ 2 ปี คดีเรื่องหลังของโจทก์ย่อมขาดอายุความมรดก