พบผลลัพธ์ทั้งหมด 314 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การผูกพันตามระเบียบธนาคารที่ระบุในเอกสารขอเปิดบัญชี
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า.'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า. ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์).ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้ว. และตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ'. และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า.'... ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชี...ผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย'. กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว. เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ'. จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว. และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ'. แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้. เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย. ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพัน. เมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์. และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง. จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การยินยอมผูกพันตามระเบียบธนาคารที่ระบุในเอกสารเปิดบัญชี
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์) ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้วและตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ' และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า' ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชีผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย' กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ' จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯ ตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ' แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้ เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพันเมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 852/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การยินยอมและผลผูกพันตามระเบียบธนาคาร
เอกสารหมาย จ.73 มีข้อความตอนต้นทางด้านหน้าว่า'แบบขอเปิดบัญชีฝากกระแสรายวัน' แต่มีข้อความตอนท้ายของด้านเดียวกันว่า ฯลฯ ข้าพเจ้า(จำเลย)ได้ทราบระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารไทยพัฒนา จำกัด (โจทก์) ตามที่ระบุไว้ด้านหลังของแบบขอเปิดบัญชีและคำเตือนในสมุดเช็คแล้ว และตกลงรับที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบการดังกล่าวโดยตลอดฯลฯ' และมีข้อความในระเบียบการบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของธนาคารโจทก์ข้อ 11 ซึ่งอยู่ด้านหลังของเอกสารดังกล่าวว่า' ... ถ้าทางธนาคาร(โจทก์) ได้อนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลืออยู่ในบัญชี...ผู้ฝากคงตกลงยินยอมรับผิดชดใช้ให้แก่ธนาคารจนครบถ้วนพร้อมด้วยดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีของธนาคารในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีอีกโสดหนึ่งด้วย' กับข้อ 20 ซึ่งอยู่ในด้านเดียวกันมีข้อความว่า 'เมื่อธนาคารได้ยินยอมเปิดบัญชีเงินฝากให้ผู้ฝากรายใดตามที่ขอมาแล้ว. เป็นอันถือว่าผู้ฝากรายนั้นได้ยอมรับปฏิบัติตามระเบียบการนี้โดยทุกประการ' จำเลยลงชื่อเป็นผู้ขอเปิดบัญชีในตอนท้ายของด้านหน้าแห่งเอกสารนี้ซึ่งมีข้อความในด้านนี้เกี่ยวข้องไปถึงข้อความทางด้านหลัง โดยใช้ข้อความว่า 'ข้าพเจ้าได้ทราบระเบียบการ ฯลฯตามที่ระบุไว้ด้านหลัง ฯลฯ ดีแล้ว และตกลงที่จะปฏิบัติและยอมเข้าผูกพันตามระเบียบดังกล่าวโดยตลอด ฯลฯ' แล้วมีข้อความที่ผู้ฝากตกลงยินยอมรับผิดชอบใช้เงินที่ธนาคารอนุมัติให้จ่ายตามเช็คที่สั่งจ่ายมากกว่าจำนวนเงินที่คงเหลือในบัญชีทั้งยอมปฏิบัติตามระเบียบด้านหลังเอกสารดังกล่าวเมื่อมีการตกลงกันเช่นนี้ เรียกได้ว่าเอกสารหมาย จ.73 เป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีระหว่างธนาคารโจทก์และจำเลย ซึ่งโจทก์จำเลยต้องผูกพัน เมื่อจำเลยรับว่าเบิกเงินเกินบัญชีจำนวนเงิน 99,531.03 บาท ไปจากธนาคารโจทก์ และจำเลยยอมชำระดอกเบี้ยทบต้นร้อยละ 15ต่อปีนับแต่วันฟ้อง จำเลยก็ต้องรับผิดชำระเงินและดอกเบี้ยดังกล่าวแก่โจทก์ตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 847/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำรับรองการชำระหนี้เมื่อขายที่ดิน ไม่ใช่เงื่อนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หนี้ตามเอกสารหมาย จ.1 มีความที่จำเลยเขียนไว้ว่า.'ได้รับยืมเงินคุณพระ (โจทก์)60,000บาท จะใช้คืนทั้งหมดในเมื่อรับเงินขายที่ 24 ไร่ได้ จะคืนคุณพระหมด'.หนี้ตามเอกสารหมาย จ.3 มีความว่า'ขอกวนใจช่วยอีก 20,000 บาทเท่ากับให้ผมยืมก่อน และเวลาขายที่นาของผมได้ ผมก็จะอนุญาตให้คุณพระหักไปเลย'. ดังนี้ข้อความที่จำเลยเขียนระบุไว้นั้น เป็นเพียงคำปรารภหรือคำกล่าวอ้างของจำเลยในเวลายืมรับรองว่าจะชำระหนี้คืน. เมื่อจำเลยขายที่ดินของจำเลยได้ เนื่องจากจำเลยยังมีที่ดินพอจะขายเอาเงินมาชำระหนี้ให้โจทก์ได้เท่านั้น. คำรับรองดังกล่าวหาใช่เงื่อนไขในการชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา144 ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 847/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้เงินยืมมีเงื่อนไขชำระเมื่อขายที่ดิน ข้อความในเอกสารเป็นเพียงคำรับรอง ไม่ใช่เงื่อนไขตามกฎหมาย
หนี้ตามเอกสารหมาย จ.1 มีความที่จำเลยเขียนไว้ว่า'ได้รับยืมเงินคุณพระ (โจทก์) 60,000บาท จะใช้คืนทั้งหมดในเมื่อรับเงินขายที่ 24 ไร่ได้ จะคืนคุณพระหมด'หนี้ตามเอกสารหมาย จ.3 มีความว่า'ขอกวนใจช่วยอีก 20,000 บาทเท่ากับให้ผมยืมก่อน และเวลาขายที่นาของผมได้ ผมก็จะอนุญาตให้คุณพระหักไปเลย' ดังนี้ข้อความที่จำเลยเขียนระบุไว้นั้น เป็นเพียงคำปรารภหรือคำกล่าวอ้างของจำเลยในเวลายืมรับรองว่าจะชำระหนี้คืน เมื่อจำเลยขายที่ดินของจำเลยได้ เนื่องจากจำเลยยังมีที่ดินพอจะขายเอาเงินมาชำระหนี้ให้โจทก์ได้เท่านั้น คำรับรองดังกล่าวหาใช่เงื่อนไขในการชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา144 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 847/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงื่อนไขชำระหนี้จากการยืมเงิน: คำรับรองขายที่ดินไม่ใช่เงื่อนไขตามกฎหมาย
หนี้ตามเอกสารหมาย จ.1 มีความที่จำเลยเขียนไว้ว่า'ได้รับยืมเงินคุณพระ (โจทก์)60,000บาท จะใช้คืนทั้งหมดในเมื่อรับเงินขายที่ 24 ไร่ได้ จะคืนคุณพระหมด'หนี้ตามเอกสารหมาย จ.3 มีความว่า'ขอกวนใจช่วยอีก 20,000 บาทเท่ากับให้ผมยืมก่อน และเวลาขายที่นาของผมได้ ผมก็จะอนุญาตให้คุณพระหักไปเลย' ดังนี้ข้อความที่จำเลยเขียนระบุไว้นั้น เป็นเพียงคำปรารภหรือคำกล่าวอ้างของจำเลยในเวลายืมรับรองว่าจะชำระหนี้คืน เมื่อจำเลยขายที่ดินของจำเลยได้ เนื่องจากจำเลยยังมีที่ดินพอจะขายเอาเงินมาชำระหนี้ให้โจทก์ได้เท่านั้นคำรับรองดังกล่าวหาใช่เงื่อนไขในการชำระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา144 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1190/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันสมบูรณ์ แม้ขัดมติบริษัทผู้รับประกัน ย่อมผูกพันตามสัญญาที่ทำ
มติคณะกรรมการบริษัทให้จัดให้มีค้ำประกันสำหรับสมุหบัญชีในวงเงิน 30,000 บาทและพนักงานที่เกี่ยวกับการเงินคนละ 10,000 บาท แต่สัญญาค้ำประกันที่จำเลยทำไว้กับโจทก์ไม่ได้จำกัดวงเงินที่จะต้องรับผิดชอบนั้น ก็เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ชอบด้วยกฎหมาย มติของคณะกรรมการเป็นเพียงระเบียบภายในของบริษัท มิได้เกี่ยวกับจำเลยซึ่งเป็นบุคคลภายนอก เมือจำเลยสมัครใจทำสัญญาค้ำประกันไว้กับโจทก์อย่างใด ก็ต้องรับผิดชอบตามสัญญาที่ได้ทำไว้
ข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา ต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น
ข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา ต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1190/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันสมบูรณ์ แม้มติคณะกรรมการบริษัทจำกัดวงเงินค้ำประกัน เหตุจำเลยสมัครใจทำสัญญา
มติคณะกรรมการบริษัทให้จัดให้มีค้ำประกันสำหรับสมุหบัญชีในวงเงิน 30,000 บาท และพนักงานที่เกี่ยวกับการเงินคนละ10,000 บาทแต่สัญญาค้ำประกันที่จำเลยทำไว้กับโจทก์ไม่ได้จำกัดวงเงินที่จะต้องรับผิดชอบนั้น ก็เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ชอบด้วยกฎหมาย มติของคณะกรรมการเป็นเพียงระเบียบภายในของบริษัท มิได้เกี่ยวกับจำเลยซึ่งเป็นบุคคลภายนอก เมื่อจำเลยสมัครใจทำสัญญาค้ำประกันไว้กับโจทก์อย่างใด ก็ต้องรับผิดชอบตามสัญญาที่ได้ทำไว้
ข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา ต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น
ข้อกฎหมายที่จะยกขึ้นอ้างอิงในฎีกา ต้องเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขับไล่ของผู้เช่าที่ดินเมื่อจำเลยครอบครองพื้นที่ก่อนทำสัญญาเช่า
โจทก์เช่าที่ดินทั้งแปลง แต่บางส่วนในที่ดินแปลงที่โจทก์เช่านั้น จำเลยได้ปลูกบ้านอาศัยอยู่ก่อนที่โจทก์จะทำสัญญาเช่าที่ดินกับเจ้าของที่ดิน และจำเลยได้อาศัยอยู่เรื่อยมา เมื่อโจทก์ยังไม่เคยครอบครองที่ดินที่จำเลยใช้ปลูกบ้านนั้น จำเลยคงมีนิติสัมพันธ์กับเจ้าของที่ดินเท่านั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขับไล่: ผู้เช่าไม่มีสิทธิขับไล่ผู้ครอบครองก่อนทำสัญญาเช่า แม้จะเช่าที่ดินแปลงเดียวกัน
โจทก์เช่าที่ดินทั้งแปลงแต่บางส่วนในที่ดินแปลงที่โจทก์เช่านั้นจำเลยได้ปลูกบ้านอาศัยอยู่ก่อนที่โจทก์จะทำสัญญาเช่าที่ดินกับเจ้าของที่ดิน และจำเลยได้อาศัยอยู่เรื่อยมาเมื่อโจทก์ยังไม่เคยครอบครองที่ดินที่จำเลยใช้ปลูกบ้านนั้น จำเลยคงมีนิติสัมพันธ์กับเจ้าของที่ดินเท่านั้นโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง