พบผลลัพธ์ทั้งหมด 314 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1006/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมทำหนี้เพื่อเรียกทรัพย์จากผู้ไร้ความสามารถ ศาลพิพากษาให้จำเลยที่ 1 ชนะคดี
จำเลยที่ 1 เป็นคนไร้ความสามารถ จำเลยที่ 2 เป็นผู้อนุบาลตามคำสั่งศาล จำเลยที่ 2 ได้สมยอมทำหนังสือสัญญากู้เงินกับโจทก์เพื่อเรียกร้องเอาทรัพย์สินของจำเลยที่ 1 เมื่อเป็นเช่นนี้ จำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1006/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้สินสมยอม: การกู้เงินโดยผู้อนุบาลเพื่อเรียกทรัพย์สินของบุคคลไร้ความสามารถ ศาลพิพากษายืนตามชั้นต้น
จำเลยที่ 1 เป็นคนไร้ความสามารถ จำเลยที่ 2 เป็นผู้อนุบาลตามคำสั่งศาล จำเลยที่ 2 ได้สมยอมทำหนังสือสัญญากู้เงินกับโจทก์เพื่อเรียกร้องเอาทรัพย์สินของจำเลยที่ 1 เมื่อเป็นเช่นนี้จำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 89/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้ชดใช้ค่าเสียหายจากการทำละเมิด ไม่เป็นโมฆะ แม้มีการลงวันที่ย้อนหลัง หากเจตนาคือการชดใช้ค่าเสียหาย ไม่ใช่ช่วยเหลือจำเลยหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษอาญา
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยตามสัญญากู้ซิ่งมีมูลหนี้เดิมจากการทำละเมิดของจำเลย อายุความเรียกร้องต้องเป็นไปตามเรื่องกู้ มิใช่เรื่องมูลละเมิด
จำเลยทำให้เกิดเพลิงไหม้ทรัพย์สินของโจทก์โดยประมาทเลินเล่อ และยอมใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ โดยทำสัญญากู้ให้ไว้และโจทก์ยอมให้ลงวันที่ในสัญญากู้ย้อนหลังไป ไม่ถือว่าสัญญากู้นั้นมีวัตถุประสงค์โดยตรงอันจะมีผลให้จำเลยหลุดพ้นจากการต้องหาคดีอาญาฐานกระทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท และไม่ใช่เป็นการทำสัญญากู้เพื่อให้โจทก์ช่วยเหลือจำเลยให้พ้นผิดทางอาญาด้วย สัญญากู้จึงไม่เป็นโมฆะเพราะขัดต่อความสวบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เนื่องจากเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี เป็นเรื่องจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่กัน
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยก่อให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทแก่เรือน เรือนครัว ยุ้งข้าว ข้าวเปลือก สิ่งของเครื่องใช้ในบ้านและต้นผลไม้ ถือว่าโจทก์ได้บรรยายรายละเอียดแห่งทรัพย์สินที่เสียหายไว้ในฟ้องชัดแจ้งแล้ว
จำเลยทำให้เกิดเพลิงไหม้ทรัพย์สินของโจทก์โดยประมาทเลินเล่อ และยอมใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ โดยทำสัญญากู้ให้ไว้และโจทก์ยอมให้ลงวันที่ในสัญญากู้ย้อนหลังไป ไม่ถือว่าสัญญากู้นั้นมีวัตถุประสงค์โดยตรงอันจะมีผลให้จำเลยหลุดพ้นจากการต้องหาคดีอาญาฐานกระทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท และไม่ใช่เป็นการทำสัญญากู้เพื่อให้โจทก์ช่วยเหลือจำเลยให้พ้นผิดทางอาญาด้วย สัญญากู้จึงไม่เป็นโมฆะเพราะขัดต่อความสวบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เนื่องจากเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี เป็นเรื่องจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่กัน
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยก่อให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทแก่เรือน เรือนครัว ยุ้งข้าว ข้าวเปลือก สิ่งของเครื่องใช้ในบ้านและต้นผลไม้ ถือว่าโจทก์ได้บรรยายรายละเอียดแห่งทรัพย์สินที่เสียหายไว้ในฟ้องชัดแจ้งแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 89/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้ชดใช้ค่าเสียหายจากเหตุละเมิด ไม่เป็นโมฆะ แม้ลงวันที่ย้อนหลัง หากเจตนาคือการชดใช้ค่าเสียหาย ไม่ใช่เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดอาญา
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยตามสัญญากู้ ซึ่งมีมูลหนี้เดิมจากการทำละเมิดของจำเลย อายุความเรียกร้องต้องเป็นไปตามเรื่องกู้ มิใช่เรื่องมูลละเมิด
จำเลยทำให้เกิดเพลิงไหม้ทรัพย์สินของโจทก์โดยประมาทเลินเล่อและยอมใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์โดยทำสัญญากู้ให้ไว้และโจทก์ยอมให้ลงวันที่ในสัญญากู้ย้อนหลังไปไม่ถือว่าสัญญากู้นั้นมีวัตถุประสงค์โดยตรงอันจะมีผลให้จำเลยหลุดพ้นจากการต้องหาคดีอาญาฐานกระทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทและไม่ใช่เป็นการทำสัญญากู้เพื่อให้โจทก์ช่วยเหลือจำเลยให้พ้นผิดทางอาญาด้วยสัญญากู้จึงไม่เป็นโมฆะเพราะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนเนื่องจากเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณีเป็นเรื่องจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่กัน
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยก่อให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทแก่เรือน เรือนครัว ยุ้งข้าว ข้าวเปลือก สิ่งของเครื่องใช้ในบ้านและต้นผลไม้ถือว่าโจทก์ได้บรรยายรายละเอียดแห่งทรัพย์สินที่เสียหายไว้ในฟ้องชัดแจ้งแล้ว
จำเลยทำให้เกิดเพลิงไหม้ทรัพย์สินของโจทก์โดยประมาทเลินเล่อและยอมใช้ค่าเสียหายให้แก่โจทก์โดยทำสัญญากู้ให้ไว้และโจทก์ยอมให้ลงวันที่ในสัญญากู้ย้อนหลังไปไม่ถือว่าสัญญากู้นั้นมีวัตถุประสงค์โดยตรงอันจะมีผลให้จำเลยหลุดพ้นจากการต้องหาคดีอาญาฐานกระทำให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทและไม่ใช่เป็นการทำสัญญากู้เพื่อให้โจทก์ช่วยเหลือจำเลยให้พ้นผิดทางอาญาด้วยสัญญากู้จึงไม่เป็นโมฆะเพราะขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนเนื่องจากเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณีเป็นเรื่องจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่กัน
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยก่อให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาทแก่เรือน เรือนครัว ยุ้งข้าว ข้าวเปลือก สิ่งของเครื่องใช้ในบ้านและต้นผลไม้ถือว่าโจทก์ได้บรรยายรายละเอียดแห่งทรัพย์สินที่เสียหายไว้ในฟ้องชัดแจ้งแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1387/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกรรมสิทธิ์โดยไม่สุจริตและการคุ้มครองผู้รับโอนที่สุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การร้องทุกข์หรือการฟ้องคดีกล่าวหาว่าจำเลยหลอกลวงให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินให้จำเลยนั้น ไม่ถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรมการโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138
หากฟังข้อเท็จจริงได้ว่าจำเลยได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยมีค่าตอบแทนและโดยสุจริต ทั้งได้มีการจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์นั้นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329 และ มาตรา 1300 แล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์เดิมจะขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนนั้นไม่ได้ (ทั้งนี้ มิพักต้องคำนึงถึงว่าผู้โอนทรัพย์สินให้จะได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะและนิติกรรมนั้นถูกบอกล้างในภายหลังหรือหาไม่)
หากฟังข้อเท็จจริงได้ว่าจำเลยได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยมีค่าตอบแทนและโดยสุจริต ทั้งได้มีการจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์นั้นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329 และ มาตรา 1300 แล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์เดิมจะขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนนั้นไม่ได้ (ทั้งนี้ มิพักต้องคำนึงถึงว่าผู้โอนทรัพย์สินให้จะได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะและนิติกรรมนั้นถูกบอกล้างในภายหลังหรือหาไม่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1387/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกรรมสิทธิ์โดยมีเจตนาหลอกลวงและสุจริตของผู้รับโอน ผลต่อการเพิกถอนนิติกรรม
การร้องทุกข์หรือการฟ้องคดีกล่าวหาว่าจำเลยหลอกลวงให้โจทก์โอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินให้จำเลยนั้น ไม่ถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรม การโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138
หากฟังข้อเท็จจริงได้ว่าจำเลยได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยมีค่าตอบแทนและโดยสุจริตทั้งได้มีการจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์นั้นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1329 และมาตรา 1300 แล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์เดิมจะขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนนั้นไม่ได้ (ทั้งนี้ มิพักต้องคำนึงถึงว่าผู้โอนทรัพย์สินให้จะได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะและนิติกรรมนั้นถูกบอกล้างในภายหลัง หรือหาไม่)
หากฟังข้อเท็จจริงได้ว่าจำเลยได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยมีค่าตอบแทนและโดยสุจริตทั้งได้มีการจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์นั้นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1329 และมาตรา 1300 แล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์เดิมจะขอให้เพิกถอนนิติกรรมการโอนนั้นไม่ได้ (ทั้งนี้ มิพักต้องคำนึงถึงว่าผู้โอนทรัพย์สินให้จะได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะและนิติกรรมนั้นถูกบอกล้างในภายหลัง หรือหาไม่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าธรรมดา vs. สัญญาต่างตอบแทน และผลกระทบต่อระยะเวลาการเช่า รวมถึงการสมยอมเพื่อขับไล่ผู้เช่า
ในการทำสัญญาเช่าห้อง ผู้เช่าออกเงินให้ผู้ให้เช่า 5,000 บาท ในสัญญาเช่ากล่าวถึงว่าเป็นเงินค่าก่อสร้างค่าแป๊ะเจี๊ยะ เมื่อคดีได้ความว่าในขณะทำสัญญานี้ ผู้ให้เช่ามีห้องพร้อมอยู่แล้วไม่จำต้องก่อสร้างขึ้นแต่อย่างใด ดังนี้ เงินที่ผู้เช่าออกไปนั้นจึงไม่ใช่เงินค่าก่อสร้าง คงเป็นเงินกินเปล่าตามธรรมดา สัญญาเช่าจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดาไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน
สัญญาเช่าที่ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เมื่อกำหนดระยะเวลาเช่าได้ 10 ปีโดยไม่ได้จดทะเบียนการเช่านั้น คงบังคับกันได้เพียง 3 ปี
สัญญาเช่าที่ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เมื่อกำหนดระยะเวลาเช่าได้ 10 ปีโดยไม่ได้จดทะเบียนการเช่านั้น คงบังคับกันได้เพียง 3 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าธรรมดา vs. สัญญาต่างตอบแทน, ระยะเวลาสัญญาเช่าที่ไม่จดทะเบียน, และการโอนสิทธิโดยไม่สุจริต
ในการทำสัญญาเช่าห้อง ผู้เช่าออกเงินให้ผู้ให้เช่า 5,000 บาท ในสัญญาเช่ากล่าวถึงว่าเป็นเงินค่าก่อสร้างค่าแป๊ะเจี๊ยะ เมื่อคดีได้ความว่าในขณะทำสัญญานี้ผู้ให้เช่ามีห้องพร้อมอยู่ แล้วไม่จำต้องก่อสร้างขึ้นแต่อย่างใด ดังนี้ เงินที่ผู้เช่าออกไปนั้น จึงไม่ใช่เงินค่าก่อสร้าง คงเป็นเงินกินเปล่าตามธรรมดาสัญญาเช่าจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดา ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน
สัญญาเช่าที่ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เมื่อกำหนดระยะเวลาเช่าไว้ 10 ปีโดยไม่ได้จดทะเบียนการเช่านั้น คงบังคับกันได้เพียง 3 ปี
สัญญาเช่าที่ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เมื่อกำหนดระยะเวลาเช่าไว้ 10 ปีโดยไม่ได้จดทะเบียนการเช่านั้น คงบังคับกันได้เพียง 3 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1102/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีหนี้ – การฟ้องจำเลยที่ 2 ที่ไม่ได้ทำสัญญากู้เงิน
ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินสามีโจทก์ ต่อมาสามีโจทก์ตาย โจทก์เป็นผู้รับมรดก ได้มอบให้ ส.เป็นผู้เก็บรักษาสัญญาไว้และจัดการทรัพย์สินตามเอกสารสัญญา ส.นำสัญญากู้คืนให้จำเลยที่ 1 แล้วทำสัญญากู้ใหม่โดยใส่ชื่อ ส.เป็นผู้ให้กู้และใส่ชื่อจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้แทนโจทก์กับ ส. จึงมีคดีพิพาทกันและทำสัญญายอมความกันไว้ โดย ส.รับว่าเงินรายนี้เป็นของสามีโจทก์จริงโจทก์จึงขอให้บังคับให้จำเลยทั้งสองใช้หนี้เงินกู้นั้น ดังนี้ เมื่อเป็นที่เห็นได้ตามคำฟ้องว่าส.กระทำไปโดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมในการกระทำระหว่าง ส.กับจำเลยทั้งสอง จะถือว่าโจทก์ฟ้องว่ากรณีเป็นการแปลงหนี้โดยชอบแล้วหาได้ไม่ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินสามีโจทก์ไปได้ ส่วนจำเลยที่ 2 ไม่ได้กู้เงินสามีโจทก์ไป ก็ไม่มีหนี้ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 โจทก์จะฟ้องจำเลยที่ 2 ให้รับผิดด้วยไม่ได้ (อนึ่ง ในปัญหาข้อนี้แม้จำเลยจะขอให้ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นว่า โจทก์ฟ้องโดยอาศัยสิทธิเรียกร้องของ ส.ตามสัญญาประนีประนอม แต่โจทก์หรือส.มิได้แจ้งการโอนสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 2 ทราบ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง แต่เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 เพราะไม่มีหนี้ต่อกัน ดังนี้ ศาลก็ย่อมพิพากษาให้ยกฟ้องคดีสำหรับจำเลยที่ 2 เสียได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1102/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิฟ้องคดีหนี้เงินกู้: การมีส่วนร่วมในการทำสัญญาและการไม่มีหนี้โดยตรง
ฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินสามีโจทก์ไป ต่อมาสามีโจทก์ตาย โจทก์เป็นผู้รับมรดก ได้มอบให้ ส.เป็นผู้รักษาสัญญาไว้ และจัดการทรัพย์สินตามเอกสารสัญญา ส.นำสัญญากู้คืนให้จำเลยที่ 1 แล้วทำสัญญากู้ใหม่ โดยใส่ชื่อ ส.เป็นผู้ให้กู้และใส่ชื่อจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้แทน โจทก์กับ ส. จึงมีคดีพิพาทกันและทำสัญญายอมความกันไว้ โดยส.รับว่าเงินรายนี้เป็นของสามีโจทก์จริง โจทก์จึงขอให้บังคับให้จำเลยทั้งสองใช้หนี้ เงินกู้นั้น ดังนี้ เมื่อเป็นที่เห็นได้ตามคำฟ้องว่า ส.กระทำไปโดยโจทก์มิได้รู้เห็นยินยอมในการกระทำระหว่าง ส.กับจำเลยทั้งสอง จะถือว่าโจทก์ฟ้องว่ากรณีเป็นการแปลงหนี้ โดยชอบแล้วหาได้ไม่โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินสามีโจทก์ไปได้ ส่วนจำเลยที่ 2 ไม่ได้กู้เงินสามีโจทก์ไป ก็ไม่มีหนี้ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 2 โจทก์จะฟ้องจำเลยที่ 2 ให้รับผิดด้วยไม่ได้ (อนึ่ง ในปัญหาข้อนี้ แม้จำเลยจะขอให้ ศาลวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นว่า โจทก์ฟ้องโดยอาศัยสิทธิเรียกร้องของ ส. ตามสัญญาประนีประนอม แต่โจทก์หรือ ส. มิได้แจ้งการโอนสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 2 ทราบ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง แต่เมื่อศาลเห็นว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 เพราะไม่มีหนี้ต่อกัน ดังนี้ ศาลก็ย่อมพิพากษาให้ยกฟ้องคดีสำหรับจำเลยที 2 เสียได้