คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 1754

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 600 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1986/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองแทนและการฟ้องเรียกคืนมรดกส่วนแบ่งของผู้เยาว์ แม้จะออกจากที่ดินไปนานก็ไม่ขาดอายุความ
บิดาโจทก์ครอบครองที่มรดกแทนโจทก์ไว้ตั้งแต่โจทก์ยังเยาว์ตลอดมา จนภายหลังที่โจทก์บรรลุนิติภาวะแล้วจนกระทั่งบิดาตาย ก็ไม่ปรากฏว่าได้บอกกล่าวแสดงเจตนาว่าจะไม่ยึดถือครอบครองแทนอีกต่อไป ฉะนั้น แม้โจทก์จะออกจากที่พิพาทไปนานแล้ว ก็ยังไม่ขาดอายุความฟ้องเรียกมรดกส่วนของตนซึ่งบิดาครอบครองแทนไว้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1986/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองแทนและอายุความฟ้องเรียกมรดกของผู้เยาว์ แม้ออกจากที่ดินไปแล้วก็ไม่ขาดอายุความ
บิดาโจทก์ครอบครองที่มรดกแทนโจทก์ไว้ตั้งแต่โจทก์ยังเยาว์ตลอดมา จนภายหลังที่โจทก์บรรลุนิติภาวะแล้วจนกระทั่งบิดาตาย ก็ไม่ปรากฏว่าได้บอกกล่าวแสดงเจตนาว่าจะไม่ยึดถือครอบครองแทนอีกต่อไป ฉะนั้น แม้โจทก์จะออกจากที่พิพาทไปนานแล้ว ก็ยังไม่ขาดอายุความฟ้องเรียกมรดกส่วนของตนซึ่งบิดาครอบครองแทนไว้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1986/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองแทนและอายุความฟ้องเรียกมรดกส่วนแบ่งของผู้เยาว์
บิดาโจทก์ครอบครองที่มรดกแทนโจทก์ไว้ตั้งแต่โจทก์ยังเยาว์ตลอดมา. จนภายหลังที่โจทก์บรรลุนิติภาวะแล้วจนกระทั่งบิดาตาย ก็ไม่ปรากฏว่าได้บอกกล่าวแสดงเจตนาว่าจะไม่ยึดถือครอบครองแทนอีกต่อไป. ฉะนั้น แม้โจทก์จะออกจากที่พิพาทไปนานแล้ว ก็ยังไม่ขาดอายุความฟ้องเรียกมรดกส่วนของตนซึ่งบิดาครอบครองแทนไว้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเข้าเป็นหุ้นส่วนแทนและการฟ้องเลิกห้างหุ้นส่วน: จำเลยไม่อาจอ้างอายุความเมื่อเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทน
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตาย.ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน. ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน. คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น. จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว. ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้.
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว. แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน. จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754. ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทนและการเลิกห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการครอบครองทรัพย์สิน
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1671/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเข้าเป็นหุ้นส่วนสืบแทนและการเลิกห้างหุ้นส่วนสามัญเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเจ้าของกิจการ
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งตายผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นตกลงยินยอมให้จำเลยบุตรของหุ้นส่วนที่ตายนั้นเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน ต่อมาหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งตาย ไม่มีใครเข้าเป็นหุ้นส่วนแทน คงดำเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนต่อมาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนอื่น จนมีเหตุที่จำเลยถือตนเป็นเจ้าของโรงสีของห้างหุ้นส่วนเสียคนเดียว ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นย่อมฟ้องจำเลยขอให้เลิกห้างหุ้นส่วนได้
เมื่อจำเลยเข้าเป็นตัวหุ้นส่วนสืบแทนบิดาแล้ว แม้บิดาจำเลยจะตายมาเกิน 1 ปี ก่อนที่จะมีการฟ้องร้องเลิกห้างหุ้นส่วนและขอแบ่งทรัพย์สิน จำเลยก็ยกอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งเป็นเรื่องเจ้ามรดกเป็นลูกหนี้ขึ้นต่อสู้ผู้เป็นหุ้นส่วนอื่นไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 475/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คนต่างด้าวรับมรดก/พินัยกรรม: สัญญาประนีประนอมผูกพันได้หากมีสิทธิขออนุญาตถือครองที่ดิน
ถ้าคนต่างด้าวผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิหรือมีทางที่จะขออนุญาตถือที่ดินได้ พินัยกรรมก็ไม่เป็นโมฆะ
โจทก์จำเลยต่างเป็นทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก และได้ทำสัญญาประนีประนอมกันว่าจำเลยจะโอนที่ดินให้โจทก์ตามส่วนในพินัยกรรมเมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยผู้รับผิด จึงบังคับตามสัญญาได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1750 ส่วนโจทก์ที่เป็นคนต่างด้าวก็ให้ไปจัดการตามประมวลกฎหมายที่ดินก่อน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 475/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คนต่างด้าวรับมรดก/พินัยกรรม: สัญญาประนีประนอมมีผลผูกพันหากมีสิทธิขออนุญาตถือครองที่ดินได้
ถ้าคนต่างด้าวผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิหรือมีทางที่จะขออนุญาตถือที่ดินได้ พินัยกรรมก็ไม่เป็นโมฆะ
โจทก์จำเลยต่างเป็นทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก และได้ทำสัญญาประนีประนอมกันว่าจำเลยจะโอนที่ดินให้โจทก์ตามส่วนในพินัยกรรมเมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยผู้รับผิด จึงบังคับตามสัญญาได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1750 ส่วนโจทก์ที่เป็นคนต่างด้าวก็ให้ไปจัดการตามประมวลกฎหมายที่ดินก่อน (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 475/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คนต่างด้าวรับมรดก/พินัยกรรม: สัญญาประนีประนอมมีผลบังคับใช้ได้ หากมีสิทธิขออนุญาตถือครองที่ดินได้
ถ้าคนต่างด้าวผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิหรือมีทางที่จะขออนุญาตถือที่ดินได้. พินัยกรรมก็ไม่เป็นโมฆะ.
โจทก์จำเลยต่างเป็นทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดก. และได้ทำสัญญาประนีประนอมกันว่าจำเลยจะโอนที่ดินให้โจทก์ตามส่วนในพินัยกรรมเมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยผู้รับผิด. จึงบังคับตามสัญญาได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1750. ส่วนโจทก์ที่เป็นคนต่างด้าวก็ให้ไปจัดการตามประมวลกฎหมายที่ดินก่อน.(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 244/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์โดยพนักงานอัยการ และการละเลยอายุความมรดกจากการเจรจาต่อรอง
พนักงานอัยการมีสิทธิยกคดีขึ้นกล่าวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534 ได้. โดยผู้เยาว์ไม่ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน.
จำเลยไม่ได้ปฏิเสธว่าโจทก์ไม่มีสิทธิได้รับมรดกเสียเลย. แต่ยอมให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดกโดยเกี่ยงกันในเรื่องจำนวนเนื้อที่ที่จะแบ่งให้มากหรือน้อยเท่านั้น.จนกระทั่งล่วงเลยกำหนดอายุความมรดก 1 ปี. ก็ยังโต้เถียงกันแต่ในเรื่องจำนวนเนื้อที่ และขัดข้องในการที่ให้โจทก์บางคนซึ่งเป็นผู้เยาว์ต้องมีผู้แทนโดยชอบธรรมร้องขออนุญาตต่อศาลก่อนเท่านั้น. ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความโดยปริยายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 192. จำเลยจึงยกอายุความขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้.
ตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 บัญญัติให้ผู้เยาว์จะเสนอข้อหาต่อศาลได้โดยได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน และการให้ความยินยอมเช่นนี้ต้องทำเป็นหนังสือยื่นต่อศาลนั้น. เพื่อรวมไว้ในสำนวนความ ก็เป็นเรื่องที่ผู้เยาว์ใช้สิทธิฟ้องร้องนั่นเอง.
of 60