พบผลลัพธ์ทั้งหมด 664 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3844/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีขนส่งทางทะเล, การจำกัดความรับผิด, และผลของสัญญาประกันภัย
จำเลยเป็นบริษัทในต่างประเทศ สายเดินเรือเมอสก์ สาขากรุงเทพเป็นกิจการของจำเลย จึงเป็นสาขาของจำเลย เมื่อสาขาดังกล่าวมีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตศาลชั้นต้น และได้ร่วมกระทำการ ในการขนส่งสินค้ารายพิพาท จึงถือว่าสำนักงานแห่งใหญ่ของสายเดินเรือเมอสก์ สาขากรุงเทพ เป็นภูมิลำเนาของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 71 วรรคสอง โจทก์ย่อมฟ้องจำเลยต่อศาลชั้นต้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4(2)
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ แต่ให้ยกฟ้อง เนื่องจากโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เรื่องอำนาจฟ้อง แม้จำเลยจะมิได้ยกประเด็นข้ออื่นขึ้นโต้แย้งไว้ในคำแก้อุทธรณ์ ก็หาทำให้ประเด็นดังกล่าวยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไม่เพราะการที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแล้วยังวินิจฉัยประเด็นข้ออื่นต่อไปอีกก็โดยมีความประสงค์ว่าหากศาลอุทธรณ์ไม่เห็นด้วยในประเด็นเรื่องอำนาจฟ้อง จะได้วินิจฉัยประเด็นอื่นไปทีเดียวโดยไม่ต้องย้อนสำนวน ดังนี้ เมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าโจทก์มีอำนาจฟ้อง ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้ออื่นต่อไป การที่ศาลอุทธรณ์ไม่วินิจฉัยให้ และจำเลยยกประเด็นดังกล่าวขึ้นฎีกาต่อมา ศาลฎีกาจึงสมควรวินิจฉัยไปทีเดียวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก
ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยการรับขนของทางทะเลใช้บังคับ และไม่ปรากฏว่ามีประเพณีการขนส่งทางทะเลที่ถือปฏิบัติกันอยู่ จึงต้องนำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะรับขน อันเป็นกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งมาปรับแก่คดี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 625 ห้ามผู้ขนส่งกำหนดข้อความยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดไว้ในใบรับ ใบตราส่งหรือเอกสารอื่น ๆ ทำนองนั้นเว้นแต่ผู้ส่งจะแสดงความตกลงด้วยชัดแจ้ง เมื่อฟังไม่ได้ว่าผู้ส่งได้แสดงความตกลงด้วยแจ้งชัด ข้อความจำกัดความรับผิดจึงไม่มีผลใช้ยันผู้ส่งได้ และไม่อาจใช้ยันผู้รับตราส่ง ซึ่งได้รับช่วงสิทธิมาจากผู้ส่ง ตลอดจนผู้รับประกันภัยซึ่งรับช่วงสิทธิของผู้รับตราส่งมาอีกทอดหนึ่ง
สัญญาประกันภัยมีผลบังคับตั้งแต่ผู้รับประกันภัยตกลงรับประกันภัย และได้ออกหนังสือรับประกันภัยล่วงหน้าให้แก่ผู้เอาประกันภัยไว้ สัญญาประกันภัยทำขึ้นก่อนผู้เอาประกันภัยทราบว่าสินค้าสูญหาย แม้ว่าผู้รับประกันภัยจะออกกรมธรรม์ประกันภัยให้หลังจากผู้เอาประกันภัยทราบว่าสินค้าสูญหายแล้ว สัญญาประกันภัยก็ไม่ตกเป็นโมฆะ
ข้อกำหนดในสัญญาประกันภัยที่ว่าในกรณีวัตถุที่เอาประกันภัยสูญหาย ผู้เอาประกันภัยจะต้องบอกกล่าวให้ตัวแทนของผู้รับประกันภัยทราบเพื่อทำรายงานสำรวจเสียก่อน มิฉะนั้นจะไม่จ่ายเงินนั้น เป็นวิธีปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับประกันภัยเชื่อถือได้ว่าสินค้าที่เอาประกันภัยสูญหายจริงเท่านั้น หากผู้รับประกันภัยเชื่อถือได้แน่นอนแล้วจะไม่ถือข้อกำหนดนี้เป็นสาระสำคัญก็ได้หา เป็นการผิดเงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยไม่
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ แต่ให้ยกฟ้อง เนื่องจากโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เรื่องอำนาจฟ้อง แม้จำเลยจะมิได้ยกประเด็นข้ออื่นขึ้นโต้แย้งไว้ในคำแก้อุทธรณ์ ก็หาทำให้ประเด็นดังกล่าวยุติไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นไม่เพราะการที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแล้วยังวินิจฉัยประเด็นข้ออื่นต่อไปอีกก็โดยมีความประสงค์ว่าหากศาลอุทธรณ์ไม่เห็นด้วยในประเด็นเรื่องอำนาจฟ้อง จะได้วินิจฉัยประเด็นอื่นไปทีเดียวโดยไม่ต้องย้อนสำนวน ดังนี้ เมื่อศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าโจทก์มีอำนาจฟ้อง ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะวินิจฉัยประเด็นข้ออื่นต่อไป การที่ศาลอุทธรณ์ไม่วินิจฉัยให้ และจำเลยยกประเด็นดังกล่าวขึ้นฎีกาต่อมา ศาลฎีกาจึงสมควรวินิจฉัยไปทีเดียวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก
ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยการรับขนของทางทะเลใช้บังคับ และไม่ปรากฏว่ามีประเพณีการขนส่งทางทะเลที่ถือปฏิบัติกันอยู่ จึงต้องนำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะรับขน อันเป็นกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งมาปรับแก่คดี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 625 ห้ามผู้ขนส่งกำหนดข้อความยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดไว้ในใบรับ ใบตราส่งหรือเอกสารอื่น ๆ ทำนองนั้นเว้นแต่ผู้ส่งจะแสดงความตกลงด้วยชัดแจ้ง เมื่อฟังไม่ได้ว่าผู้ส่งได้แสดงความตกลงด้วยแจ้งชัด ข้อความจำกัดความรับผิดจึงไม่มีผลใช้ยันผู้ส่งได้ และไม่อาจใช้ยันผู้รับตราส่ง ซึ่งได้รับช่วงสิทธิมาจากผู้ส่ง ตลอดจนผู้รับประกันภัยซึ่งรับช่วงสิทธิของผู้รับตราส่งมาอีกทอดหนึ่ง
สัญญาประกันภัยมีผลบังคับตั้งแต่ผู้รับประกันภัยตกลงรับประกันภัย และได้ออกหนังสือรับประกันภัยล่วงหน้าให้แก่ผู้เอาประกันภัยไว้ สัญญาประกันภัยทำขึ้นก่อนผู้เอาประกันภัยทราบว่าสินค้าสูญหาย แม้ว่าผู้รับประกันภัยจะออกกรมธรรม์ประกันภัยให้หลังจากผู้เอาประกันภัยทราบว่าสินค้าสูญหายแล้ว สัญญาประกันภัยก็ไม่ตกเป็นโมฆะ
ข้อกำหนดในสัญญาประกันภัยที่ว่าในกรณีวัตถุที่เอาประกันภัยสูญหาย ผู้เอาประกันภัยจะต้องบอกกล่าวให้ตัวแทนของผู้รับประกันภัยทราบเพื่อทำรายงานสำรวจเสียก่อน มิฉะนั้นจะไม่จ่ายเงินนั้น เป็นวิธีปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับประกันภัยเชื่อถือได้ว่าสินค้าที่เอาประกันภัยสูญหายจริงเท่านั้น หากผู้รับประกันภัยเชื่อถือได้แน่นอนแล้วจะไม่ถือข้อกำหนดนี้เป็นสาระสำคัญก็ได้หา เป็นการผิดเงื่อนไขตามกรมธรรม์ประกันภัยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3747/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนโอนสิทธิการขายบนแผงลอย แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็ฟ้องบังคับได้
จำเลยตกลงโอนสิทธิการขายสินค้าบนแผงลอยในตลาดนัดเทศบาลเมืองพระประแดงแก่โจทก์โดยโจทก์เสียค่าตอบแทนให้จำเลย เป็นเงิน ข้อตกลงระหว่างโจทก์จำเลยเป็นสัญญาต่างตอบแทนไม่ใช่ การเช่าช่วง สัญญาดังกล่าวไม่มีกฎหมายบังคับให้ทำเป็นหนังสือ ดังนั้นแม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ โจทก์ก็มีอำนาจฟ้องจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3747/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนโอนสิทธิการขายแผงลอย: แม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ โจทก์มีอำนาจฟ้อง
จำเลยตกลงโอนสิทธิการขายสินค้าบนแผงลอยในตลาดนัดเทศบาลเมืองพระประแดงแก่โจทก์ โดยโจทก์เสียค่าตอบแทนให้จำเลยเป็นเงิน ข้อตกลงระหว่างโจทก์จำเลยเป็นสัญญาต่างตอบแทนไม่ใช่การเช่าช่วง สัญญาดังกล่าวไม่มีกฎหมายบังคับให้ทำเป็นหนังสือ ดังนั้นแม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ โจทก์ก็มีอำนาจฟ้องจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3463/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าจ้างทนายความเหมาจ่าย: สัญญาไม่เป็นโมฆะ ศาลกำหนดจ่ายตามส่วนงาน
โจทก์บรรยายฟ้องว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.2515 ฉ. ตกลงว่าจ้างให้ ว. เป็นทนายความดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไปจาก ที่ดินของ ฉ. และ ว. ตกลงรับจ้างจัดการขับไล่ผู้เช่าทั้งหมด โดยตกลงเหมากันทำให้แล้วเสร็จในอัตราค่าจ้าง 1,000,000 บาท กำหนดชำระค่าจ้างกันเมื่อได้ขับไล่ผู้เช่าทั้งหมดออกไปแล้ว ดังนี้ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ฉ. มีความประสงค์ที่จะขับไล่ผู้อยู่ในที่ดินให้ออกไปเพื่อใช้ที่ดินปลูกสร้างอาคารจึงได้ไปปรึกษากับว.และตกลงจ้างว. ที่ ว. รับออกค่าใช้จ่ายไปก่อนก็เพราะ ฉ. เป็นเพื่อนสนิทกับ ว. เป็นกรณีที่ ว.ออก ค่าใช้จ่ายทดรองไปก่อนโดยสุจริต. ถือไม่ได้ว่า ว. ยุยงส่งเสริมให้มีการ ฟ้องคดีกัน ทั้งค่าจ้างที่ ฉ.ตกลงให้ ว. ก็ไม่มากเกินสมควร. ส่วนที่ ฉ. จะให้ ค่าจ้างเป็นเงิน 1,000,000 บาท หรือถ้าไม่มีเงินให้ก็จะให้เป็น ตึกแถว 2 ห้องนั้นก็เป็นข้อเสนอและความประสงค์ของ ฉ. เอง ซึ่ง ฉ. จะให้เป็นเงินก็ได้ ทั้งตึกแถว 2 ห้องนั้นก็มิใช่เป็นทรัพย์ที่พิพาทกันในคดี จึงยังถือไม่ได้ว่าการกระทำของ ว. เป็นการแสวงหาประโยชน์จากการที่ผู้อื่นเป็นความกัน และคิดค่าจ้าง โดยแบ่งเอาจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาท ดังนี้สัญญาจ้างหาตกเป็นโมฆะไม่
ฉ. ตกลงจ้าง ว. ให้ดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไปจากที่ดินเป็นเงิน 1,000,000 บาท และ ว. ได้กระทำการ ตามที่ ฉ. ว่าจ้างไปบ้างแล้ว. ต่อมาทั้ง ฉ. และ ว.ถึงแก่ความตาย สัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลง ฉ. จำต้องใช้สินจ้างตามส่วนของการงานที่ได้ทำไปแล้วอันเป็นประโยชน์ แก่ ฉ.ซึ่งศาลกำหนดให้เป็นเงิน 450,000 บาทนั้น เป็นจำนวนพอสมควรแล้ว
ฉ. มีความประสงค์ที่จะขับไล่ผู้อยู่ในที่ดินให้ออกไปเพื่อใช้ที่ดินปลูกสร้างอาคารจึงได้ไปปรึกษากับว.และตกลงจ้างว. ที่ ว. รับออกค่าใช้จ่ายไปก่อนก็เพราะ ฉ. เป็นเพื่อนสนิทกับ ว. เป็นกรณีที่ ว.ออก ค่าใช้จ่ายทดรองไปก่อนโดยสุจริต. ถือไม่ได้ว่า ว. ยุยงส่งเสริมให้มีการ ฟ้องคดีกัน ทั้งค่าจ้างที่ ฉ.ตกลงให้ ว. ก็ไม่มากเกินสมควร. ส่วนที่ ฉ. จะให้ ค่าจ้างเป็นเงิน 1,000,000 บาท หรือถ้าไม่มีเงินให้ก็จะให้เป็น ตึกแถว 2 ห้องนั้นก็เป็นข้อเสนอและความประสงค์ของ ฉ. เอง ซึ่ง ฉ. จะให้เป็นเงินก็ได้ ทั้งตึกแถว 2 ห้องนั้นก็มิใช่เป็นทรัพย์ที่พิพาทกันในคดี จึงยังถือไม่ได้ว่าการกระทำของ ว. เป็นการแสวงหาประโยชน์จากการที่ผู้อื่นเป็นความกัน และคิดค่าจ้าง โดยแบ่งเอาจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาท ดังนี้สัญญาจ้างหาตกเป็นโมฆะไม่
ฉ. ตกลงจ้าง ว. ให้ดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไปจากที่ดินเป็นเงิน 1,000,000 บาท และ ว. ได้กระทำการ ตามที่ ฉ. ว่าจ้างไปบ้างแล้ว. ต่อมาทั้ง ฉ. และ ว.ถึงแก่ความตาย สัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลง ฉ. จำต้องใช้สินจ้างตามส่วนของการงานที่ได้ทำไปแล้วอันเป็นประโยชน์ แก่ ฉ.ซึ่งศาลกำหนดให้เป็นเงิน 450,000 บาทนั้น เป็นจำนวนพอสมควรแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3463/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างทนายความ ค่าจ้างเหมาสมเหตุสมผล การคิดค่าจ้างตามส่วนงานที่ทำสำเร็จเมื่อสัญญาสิ้นสุด
โจทก์บรรยายฟ้องว่าเมื่อประมาณพ.ศ.2515 ฉ.ตกลงว่าจ้างให้ว. เป็นทนายความดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไปจาก ที่ดินของฉ.และว. ตกลงรับจ้างจัดการขับไล่ผู้เช่า ทั้งหมด โดยตกลงเหมากันทำให้แล้วเสร็จ ในอัตราค่าจ้าง1,000,000 บาทกำหนดชำระค่าจ้างกันเมื่อได้ขับไล่ผู้เช่าทั้งหมดออกไปแล้วดังนี้ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
ฉ. มีความประสงค์ที่จะขับไล่ผู้อยู่ในที่ดินให้ออกไปเพื่อใช้ที่ดิน ปลูกสร้างอาคารจึงได้ไปปรึกษากับว.และตกลงจ้างว.ที่ว. รับออก ค่าใช้จ่ายไปก่อนก็ เพราะฉ.เป็นเพื่อนสนิทกับว.เป็นกรณีที่ว.ออก ค่าใช้จ่ายทดรองไปก่อนโดยสุจริต. ถือไม่ได้ว่า ว. ยุยงส่งเสริมให้มีการ ฟ้องคดีกัน ทั้งค่าจ้างที่ ฉ.ตกลงให้ว.ก็ไม่มากเกินสมควร.ส่วนที่ฉ. จะให้ ค่าจ้างเป็นเงิน 1,000,000 บาท หรือถ้าไม่มีเงินให้ก็ จะให้เป็น ตึกแถว 2 ห้องนั้นก็เป็นข้อเสนอและความประสงค์ ของฉ.เองซึ่งฉ. จะให้เป็นเงินก็ได้ทั้งตึกแถว 2 ห้องนั้นก็มิใช่เป็นทรัพย์ที่พิพาทกัน ในคดีจึงยังถือไม่ได้ว่าการกระทำของว.เป็นการ แสวงหาประโยชน์ จากการที่ผู้อื่นเป็นความกัน และคิดค่าจ้าง โดยแบ่งเอาจากทรัพย์สิน ที่เป็นมูลพิพาทดังนี้ สัญญาจ้างหาตกเป็นโมฆะไม่
ฉ.ตกลงจ้างว.ให้ดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไป จากที่ดินเป็นเงิน 1,000,000บาท และว.ได้กระทำการ ตามที่ฉ.ว่าจ้างไปบ้างแล้ว.ต่อมาทั้งฉ. และว.ถึงแก่ความตายสัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลงฉ.จำต้องใช้สินจ้าง ตามส่วนของการงานที่ได้ทำไปแล้วอันเป็นประโยชน์ แก่ฉ.ซึ่งศาล กำหนดให้เป็นเงิน 450,000 บาทนั้น เป็นจำนวนพอสมควรแล้ว
ฉ. มีความประสงค์ที่จะขับไล่ผู้อยู่ในที่ดินให้ออกไปเพื่อใช้ที่ดิน ปลูกสร้างอาคารจึงได้ไปปรึกษากับว.และตกลงจ้างว.ที่ว. รับออก ค่าใช้จ่ายไปก่อนก็ เพราะฉ.เป็นเพื่อนสนิทกับว.เป็นกรณีที่ว.ออก ค่าใช้จ่ายทดรองไปก่อนโดยสุจริต. ถือไม่ได้ว่า ว. ยุยงส่งเสริมให้มีการ ฟ้องคดีกัน ทั้งค่าจ้างที่ ฉ.ตกลงให้ว.ก็ไม่มากเกินสมควร.ส่วนที่ฉ. จะให้ ค่าจ้างเป็นเงิน 1,000,000 บาท หรือถ้าไม่มีเงินให้ก็ จะให้เป็น ตึกแถว 2 ห้องนั้นก็เป็นข้อเสนอและความประสงค์ ของฉ.เองซึ่งฉ. จะให้เป็นเงินก็ได้ทั้งตึกแถว 2 ห้องนั้นก็มิใช่เป็นทรัพย์ที่พิพาทกัน ในคดีจึงยังถือไม่ได้ว่าการกระทำของว.เป็นการ แสวงหาประโยชน์ จากการที่ผู้อื่นเป็นความกัน และคิดค่าจ้าง โดยแบ่งเอาจากทรัพย์สิน ที่เป็นมูลพิพาทดังนี้ สัญญาจ้างหาตกเป็นโมฆะไม่
ฉ.ตกลงจ้างว.ให้ดำเนินการขับไล่ผู้เช่าให้ออกไป จากที่ดินเป็นเงิน 1,000,000บาท และว.ได้กระทำการ ตามที่ฉ.ว่าจ้างไปบ้างแล้ว.ต่อมาทั้งฉ. และว.ถึงแก่ความตายสัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลงฉ.จำต้องใช้สินจ้าง ตามส่วนของการงานที่ได้ทำไปแล้วอันเป็นประโยชน์ แก่ฉ.ซึ่งศาล กำหนดให้เป็นเงิน 450,000 บาทนั้น เป็นจำนวนพอสมควรแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3389/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างแรงงานมีกำหนดระยะเวลาหลังผ่านทดลองงาน ไม่ขัดต่อกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ และการเลิกจ้างไม่ถือเป็นการกระทำที่ไม่เป็นธรรม
สัญญาจ้างแรงงานซึ่งจะถือว่าเป็นการขัดต่อระเบียบข้อบังคับ ของนายจ้างหรือขัดต่อข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างอันจะทำให้ สัญญาจ้างไม่มีผลใช้บังคับ ได้แก่การทำสัญญาจ้าง ซึ่งมีข้อตกลง หรือเงื่อนไขผิดไปจากระเบียบข้อบังคับของ นายจ้างหรือข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้างซึ่งกำหนดไว้เพื่อ ประโยชน์ของลูกจ้าง ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก์ไม่มีข้อใดกำหนดหรือระบุเป็น ข้อห้ามว่ามิให้โจทก์ทำสัญญาจ้างลูกจ้างโดยกำหนดระยะเวลาจ้างไว้ การที่โจทก์จะจ้างพนักงานซึ่งผ่านพ้นการทดลองปฏิบัติงานมาแล้วเป็นพนักงานทั่วไปหรือไม่ เป็นเรื่องที่ตกลงว่าจ้างกันอีกชั้นหนึ่ง โจทก์ย่อมมีอำนาจทำสัญญาจ้างลูกจ้างโดยตกลงกำหนดระยะเวลาการจ้าง ไว้แน่นอนได้ไม่เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 20
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3389/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างแรงงานกำหนดระยะเวลาได้ นายจ้างมิอาจอ้างหลีกเลี่ยงค่าชดเชยโดยง่าย
สัญญาจ้างแรงงานซึ่งจะถือว่าเป็นการขัดต่อระเบียบข้อบังคับ ของนายจ้างหรือขัดต่อข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างอันจะทำให้สัญญาจ้างไม่มีผลใช้บังคับ ได้แก่การทำสัญญาจ้างซึ่งมีข้อตกลงหรือเงื่อนไขผิดไปจากระเบียบข้อบังคับของนายจ้างหรือข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างซึ่งกำหนดไว้เพื่อประโยชน์ของลูกจ้าง ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของโจทก์ไม่มีข้อใดกำหนดหรือระบุเป็นข้อห้ามว่ามิให้โจทก์ทำสัญญาจ้างลูกจ้างโดยกำหนดระยะเวลาจ้างไว้ การที่โจทก์จะจ้างพนักงานซึ่งผ่านพ้นการทดลองปฏิบัติงานมาแล้วเป็นพนักงานทั่วไปหรือไม่ เป็นเรื่องที่ตกลงว่าจ้างกันอีกชั้นหนึ่ง โจทก์ย่อมมีอำนาจทำสัญญาจ้างลูกจ้างโดยตกลงกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนได้ ไม่เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 20
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3296/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาให้ผลประโยชน์ตอบแทนขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมเนื่องจากเกี่ยวข้องกับหน้าที่ราชการและการเช่าโรงกลั่นน้ำมัน
จำเลยทำสัญญาให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่โจทก์ในการที่โจทก์เป็นผู้ดำเนินการติดต่อให้จำเลยได้เป็นผู้ขนส่งน้ำมันให้แก่บริษัท ซ.ซึ่งเช่าโรงกลั่นน้ำมันของกระทรวงกลาโหมแม้การให้เช่าโรงกลั่นน้ำมันจะเป็นหน้าที่ของกรมการพลังงานทหารโดยตรงก็อยู่ในความรับผิดชอบของโจทก์ซึ่งเป็นปลัดกระทรวงกลาโหมและการขนส่งน้ำมันแม้จะไม่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม แต่ก็เห็นได้ว่าบริษัท ซ.อยู่ในฐานะจำยอมเพราะหาไม่แล้วการปฏิบัติตามสัญญาเช่าโรงกลั่นระหว่างกระทรวงกลาโหมกับบริษัท ซ. อาจจะมีปัญหาให้เกิดความเสียหายต่อกระทรวงกลาโหมหรือต่อบริษัท ซ.ได้สัญญาให้ผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวจึงเป็นสัญญาซึ่งมีวัตถุประสงค์ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนตกเป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3296/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาผลประโยชน์ตอบแทนขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม กรณีปลัดกระทรวงกลาโหมเกี่ยวข้องกับสัญญาเช่าโรงกลั่นน้ำมัน
จำเลยทำสัญญาให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่โจทก์ในการที่โจทก์เป็นผู้ดำเนินการติดต่อให้จำเลยได้เป็นผู้ขนส่งน้ำมันให้แก่บริษัท ซ. ซึ่งเช่าโรงกลั่นน้ำมันของกระทรวงกลาโหม แม้การให้เช่าโรงกลั่นน้ำมันจะเป็นหน้าที่ของกรมการพลังงานทหารโดยตรงก็อยู่ในความรับผิดชอบของโจทก์ซึ่งเป็นปลัดกระทรวงกลาโหมและการขนส่งน้ำมันแม้จะไม่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม แต่ก็เห็นได้ว่าบริษัท ซ. อยู่ในฐานะจำยอมเพราะหาไม่แล้วการปฏิบัติตามสัญญาเช่าโรงกลั่นระหว่างกระทรวงกลาโหมกับบริษัท ซ. อาจจะมีปัญหาให้เกิดความเสียหายต่อกระทรวงกลาโหมหรือต่อบริษัท ซ. ได้สัญญาให้ผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวจึงเป็นสัญญาซึ่งมีวัตถุประสงค์ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนตกเป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3210/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขาย, ค่าปรับ, การบอกเลิกสัญญา, หลักประกัน, การชดใช้ค่าเสียหาย
หลักประกันตามสัญญาซื้อขายของธนาคารที่จำเลยนำมามอบ แก่โจทก์เป็นการประกันเพื่อให้ปฏิบัติตามสัญญา หากผิดสัญญาโจทก์มีสิทธิริบเมื่อถือว่าเป็นค่าเสียหายส่วนหนึ่ง ย่อมนำมาคิดหักกันได้จากค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับเพราะต้องซื้อสินค้าจากบุคคลอื่นแพงขึ้น กรณีจำเลยไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงซื้อขายให้แก่โจทก์เลย โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเมื่อเห็นว่าจำเลยไม่อาจปฏิบัติตามสัญญาต่อไปได้และจำเลยยอมให้โจทก์ใช้สิทธิปรับจำเลยได้จนถึงวันบอกเลิกสัญญา ข้อตกลงดังกล่าวเป็นข้อตกลงที่คู่กรณีสมัครใจทำกันขึ้น ทั้งไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย ของ ประชาชน ย่อมมีผลผูกพันคู่กรณี โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกค่าปรับได้ด้วย สินค้าที่ซื้อขายกันเป็นเงิน 37,400 บาท โจทก์ต้องซื้อสินค้าแพงขึ้น 25,125 บาท ซึ่งศาลพิพากษาให้ชดใช้ส่วนนี้แล้ว จำเลยผิดสัญญา โจทก์บอกเลิกสัญญาภายหลังนาน 2ปี ค่าปรับกรณีผิดสัญญาคิดเป็นรายวันเป็นเงินถึง 50,000บาทเศษ ซึ่งสูงเกินส่วน ศาลลดลงเป็นจำนวนพอสมควรตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383 วรรคแรก คงกำหนดค่าปรับให้โจทก์ 15,000 บาท