พบผลลัพธ์ทั้งหมด 469 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1722/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย: จำเลยฟันผู้ตายเพื่อป้องกันการทำร้าย
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ผู้ตายมีมีดจะเข้าทำร้ายจำเลย จำเลยจึงฟันผู้ตายไปเพียงทีเดียวถูกกะโหลกศรีษะแตกเห็นมันสมองถึงแก่ความตาย การกระทำของจำเลยเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1678/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือและการเปลี่ยนวัตถุประสงค์การเช่า ทำให้ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน
ห้องเช่ารายพิพาทอยู่ในทำเลการค้า จำเลยเช่าห้องดังกล่าวจากเจ้าของเดิม ทำการค้าขายกาแฟ ต่อมาโจทก์ซื้อห้องนั้นจากเจ้าของเดิม จำเลยผู้เช่าห้องนั้นจึงได้เช่าจากโจทก์ต่อมา และคงทำการค้าขายกาแฟดังเดิมอีก 1 ปี แล้วจำเลยหยุดไม่ขายกาแฟคงได้แต่อยู่อาศัย การที่จำเลยหยุดทำการค้าคงอยู่อาศัยต่อมานั้น เป็นการเปลี่ยนเจตนาของฝ่ายจำเลยผู้เช่าแต่เพียงฝ่ายเดียว โจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วย การที่จำเลยเช่าห้องอยู่ต่อมานั้นจึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ. 2504
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือ เมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือ เมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1678/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าห้องค้าแล้วเปลี่ยนเจตนาเป็นที่อยู่อาศัย ทำให้ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเช่าเคหะฯ และฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้
ห้องเช่ารายพิพาทอยู่ในทำเลการค้า จำเลยเช่าห้องดังกล่าวจากเจ้าของเดิม ทำการค้าขายกาแฟ ต่อมาโจทก์ซื้อห้องนั้นจากเจ้าของเดิม จำเลยผู้เช่าห้องนั้นจึงได้เช่าจากโจทก์ต่อมา และคงทำการค้าขายกาแฟดังเดิมอีก 1 ปี แล้วจำเลยหยุดไม่ขายกาแฟคงได้แต่อยู่อาศัย การที่จำเลยหยุดทำการค้าคงอยู่อาศัยต่อมานั้น เป็นการเปลี่ยนเจตนาของฝ่ายจำเลยผู้เช่าแต่เพียงฝ่ายเดียว โจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วย การที่จำเลยเช่าห้องอยู่ต่อมานั้นจึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือเมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือเมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1678/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเช่าห้องชำระหนี้ การเปลี่ยนแปลงเจตนาการใช้ห้อง และผลกระทบต่อการคุ้มครองตาม พ.ร.บ.เช่าเคหะ
ห้องเช่ารายพิพาทอยู่ในทำเลการค้า. จำเลยเช่าห้องดังกล่าวจากเจ้าของเดิม ทำการค้าขายกาแฟ. ต่อมาโจทก์ซื้อห้องนั้นจากเจ้าของเดิม จำเลยผู้เช่าห้องนั้นจึงได้เช่าจากโจทก์ต่อมา และคงทำการค้าขายกาแฟดังเดิมอีก 1 ปี แล้วจำเลยหยุดไม่ขายกาแฟคงได้แต่อยู่อาศัย. การที่จำเลยหยุดทำการค้าคงอยู่อาศัยต่อมานั้น เป็นการเปลี่ยนเจตนาของฝ่ายจำเลยผู้เช่าแต่เพียงฝ่ายเดียว. โจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วย. การที่จำเลยเช่าห้องอยู่ต่อมานั้นจึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน พ.ศ.2504.
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือ.เมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ. กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้.
จำเลยเช่าห้องพิพาทโดยไม่มีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือ.เมื่อการเช่านั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ. กรณีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 538 กล่าวคือ จะฟ้องร้องให้ศาลรับบังคับคดีเกี่ยวกับการเช่าให้ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1673/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบของกลางคดีศุลกากร: ระยะเวลาเรียกร้องคืนของกลางต่างกันเมื่อมี/ไม่มีการฟ้องคดีอาญา
ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 24 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 3 บัญญัติว่า "สิ่งใดๆ อันจะพึงต้องริบตามพระราชบัญญัตินี้พนักงานศุลกากร พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจมีอำนาจยึดในเวลาใดๆ และ ณ สถานที่ใดๆ ก็ได้
สิ่งที่ยึดไว้นั้น ถ้าเจ้าของหรือผู้มีสิทธิไม่มายื่นคำร้องเรียกเอาภายในกำหนดหกสิบวันสำหรับยานพาหนะที่ใช้ในการกระทำผิด สามสิบวันสำหรับสิ่งอื่นนับแต่วันยึด ให้ถือว่าเป็นสิ่งของที่ไม่มีเจ้าของ และให้ตกเป็นของแผ่นดิน" นั้น ใช้บังคับเฉพาะกรณีการร้องขอคืนของกลางที่ถูกยึดโดยไม่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลเท่านั้น หากพระราชบัญญัติศุลกากรฯประสงค์จะใช้บังคับแก่กรณีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลด้วย ก็คงจะได้บัญญัติกำหนดระยะเวลาเรียกร้องคืนของกลาง "นับแต่วันที่คำพิพากษาถึงที่สุด" ไว้ดังเช่นที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1327 วรรคแรก หากถือว่าของกลางตกเป็นของแผ่นดินแล้วพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอให้ศาลพิพากษาริบของกลางที่ตกเป็นของแผ่นดินแล้วให้ยกเป็นของแผ่นดินอีก
มาตรา 17 แห่งประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติอันเป็นหลักทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในภาค 1 ของประมวลกฎหมายอาญานี้ ในกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย เว้นแต่กฎหมายนั้นจะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติ เกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางที่มีตัวผู้ต้องหาและมีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไว้ด้วย ฉะนั้นในคดีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลและศาลพิพากษาสั่งริบเรือของกลางที่ใช้ในการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 32 ต้องถือว่าเป็นการริบทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 วรรคแรก ผู้มีสิทธิเรียกร้องเอาเรือของกลางคืนได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 36
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36 ไม่ขัดกันกับพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 24 ซึ่งแก้ไขโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 3 เพราะใช้บังคับต่างกรณีกัน ดังนี้จะนำพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 120 ซึ่งบัญญัติไว้ใจความว่า เมื่อใดพระราชบัญญัติศุลกากรแตกต่างกับบทกฎหมายอื่นให้ยกเอาบทบัญญัติในพระราชบัญญัติศุลกากรขึ้นใช้บังคับมาบังคับในกรณีที่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไม่ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2512)
สิ่งที่ยึดไว้นั้น ถ้าเจ้าของหรือผู้มีสิทธิไม่มายื่นคำร้องเรียกเอาภายในกำหนดหกสิบวันสำหรับยานพาหนะที่ใช้ในการกระทำผิด สามสิบวันสำหรับสิ่งอื่นนับแต่วันยึด ให้ถือว่าเป็นสิ่งของที่ไม่มีเจ้าของ และให้ตกเป็นของแผ่นดิน" นั้น ใช้บังคับเฉพาะกรณีการร้องขอคืนของกลางที่ถูกยึดโดยไม่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลเท่านั้น หากพระราชบัญญัติศุลกากรฯประสงค์จะใช้บังคับแก่กรณีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลด้วย ก็คงจะได้บัญญัติกำหนดระยะเวลาเรียกร้องคืนของกลาง "นับแต่วันที่คำพิพากษาถึงที่สุด" ไว้ดังเช่นที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1327 วรรคแรก หากถือว่าของกลางตกเป็นของแผ่นดินแล้วพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอให้ศาลพิพากษาริบของกลางที่ตกเป็นของแผ่นดินแล้วให้ยกเป็นของแผ่นดินอีก
มาตรา 17 แห่งประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติอันเป็นหลักทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในภาค 1 ของประมวลกฎหมายอาญานี้ ในกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย เว้นแต่กฎหมายนั้นจะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติ เกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางที่มีตัวผู้ต้องหาและมีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไว้ด้วย ฉะนั้นในคดีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลและศาลพิพากษาสั่งริบเรือของกลางที่ใช้ในการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 32 ต้องถือว่าเป็นการริบทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 วรรคแรก ผู้มีสิทธิเรียกร้องเอาเรือของกลางคืนได้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 36
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36 ไม่ขัดกันกับพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 24 ซึ่งแก้ไขโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 3 เพราะใช้บังคับต่างกรณีกัน ดังนี้จะนำพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 120 ซึ่งบัญญัติไว้ใจความว่า เมื่อใดพระราชบัญญัติศุลกากรแตกต่างกับบทกฎหมายอื่นให้ยกเอาบทบัญญัติในพระราชบัญญัติศุลกากรขึ้นใช้บังคับมาบังคับในกรณีที่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไม่ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1673/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดของกลางทางศุลกากรและการเรียกร้องคืนเมื่อมีคดีอาญา: ศาลใช้ประมวลกฎหมายอาญา
ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 24 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2497 มาตรา 3 บัญญัติว่า "สิ่งใด ๆ อันจะพึงต้องริบตามพระราชบัญญัตินี้พนักงานศุลกากร พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจมีอำนาจยึดในเวลาใด ๆ และ ณ สถานที่ใด ๆ ก็ได้
สิ่งที่ยึดไว้นั้น ถ้าเจ้าของหรือผู้มีสิทธิไม่มายื่นคำร้องเรียกเอาภายในกำหนดหกสิบวันสำหรับยานพาหนะที่ใช้ในการกระทำผิด สามสิบวันสำหรับสิ่งอื่นนับแต่วันยึด ให้ถือว่าเป็นสิ่งของที่ไม่มีเจ้าของ และให้ตกเป็นของแผ่นดิน" นั้น ใช้บังคับเฉพาะกรณีการร้องขอคืนของกลางที่ถูกยึดโดยไม่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลเท่านั้น หากพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ประสงค์จะใช้บังคับแก่กรณีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลด้วย ก็คงจะได้บัญญัติกำหนดระยะเวลาเรียกร้องคืนของกลาง "นับแต่วันที่คำพิพากษาถึงที่สุด" ไว้ดังเช่นที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1327 วรรคแรก หากถือว่าของกลางตกเป็นของแผ่นดินแล้วพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอให้ศาลพิพากษาริบของกลางที่ตกเป็นของแผ่นดินแล้ว ให้ตกเป็นของแผ่นดินอีก
มาตรา 17 แห่งประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติอันเป็นหลักทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในภาค 1 ของประมวลกฎหมายอาญานี้ ในกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย เว้นแต่กฎหมายนั้นจะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติเกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติเกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางที่มีตัวผู้ต้องหาและมีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไว้ด้วย ฉะนั้นในคดีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาล และศาลพิพากษาสั่งริบเรือของกลางที่ใช้ในการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ต้องถือว่าเป็นการริบทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 วรรคแรก ผู้มีสิทธิเรียกร้องเอาเรือของกลางคืนได้ตามประมวลกฎหมาอาญา มาตรา 36
ประมวลกฎหมาอาญา มาตรา 36 ไม่ขัดกันกับพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 24 ซึ่งแก้ไขโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2497 มาตรา 3 เพราะใช้บังคับต่างกรณีกัน ดังนี้จะนำพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 120 ซึ่งบัญญัติไว้ใจความว่า เมื่อใดพระราชบัญญัติศุลกากรแตกต่างกับบทกฎหมายอื่นให้ยกเอาบัญญัติในพระราชบัญญัติศุลกากรขึ้นใช้บังคับในกรณีที่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไม่ได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2512)
สิ่งที่ยึดไว้นั้น ถ้าเจ้าของหรือผู้มีสิทธิไม่มายื่นคำร้องเรียกเอาภายในกำหนดหกสิบวันสำหรับยานพาหนะที่ใช้ในการกระทำผิด สามสิบวันสำหรับสิ่งอื่นนับแต่วันยึด ให้ถือว่าเป็นสิ่งของที่ไม่มีเจ้าของ และให้ตกเป็นของแผ่นดิน" นั้น ใช้บังคับเฉพาะกรณีการร้องขอคืนของกลางที่ถูกยึดโดยไม่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลเท่านั้น หากพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ประสงค์จะใช้บังคับแก่กรณีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลด้วย ก็คงจะได้บัญญัติกำหนดระยะเวลาเรียกร้องคืนของกลาง "นับแต่วันที่คำพิพากษาถึงที่สุด" ไว้ดังเช่นที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1327 วรรคแรก หากถือว่าของกลางตกเป็นของแผ่นดินแล้วพนักงานอัยการโจทก์ก็ไม่จำต้องร้องขอให้ศาลพิพากษาริบของกลางที่ตกเป็นของแผ่นดินแล้ว ให้ตกเป็นของแผ่นดินอีก
มาตรา 17 แห่งประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติอันเป็นหลักทั่วไปตามที่บัญญัติไว้ในภาค 1 ของประมวลกฎหมายอาญานี้ ในกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย เว้นแต่กฎหมายนั้นจะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติเกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวก็มิได้บัญญัติเกี่ยวกับการร้องขอคืนของกลางที่มีตัวผู้ต้องหาและมีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไว้ด้วย ฉะนั้นในคดีที่ได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาล และศาลพิพากษาสั่งริบเรือของกลางที่ใช้ในการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 32 ต้องถือว่าเป็นการริบทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 วรรคแรก ผู้มีสิทธิเรียกร้องเอาเรือของกลางคืนได้ตามประมวลกฎหมาอาญา มาตรา 36
ประมวลกฎหมาอาญา มาตรา 36 ไม่ขัดกันกับพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 24 ซึ่งแก้ไขโดยพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2497 มาตรา 3 เพราะใช้บังคับต่างกรณีกัน ดังนี้จะนำพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 120 ซึ่งบัญญัติไว้ใจความว่า เมื่อใดพระราชบัญญัติศุลกากรแตกต่างกับบทกฎหมายอื่นให้ยกเอาบัญญัติในพระราชบัญญัติศุลกากรขึ้นใช้บังคับในกรณีที่มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลไม่ได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1647/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยายามฆ่า: การชักปืนเตรียมการยังไม่ถึงขั้นลงมือ
จำเลยมาพบผู้เสียหายที่บ่อน้ำ ผู้เสียหายพูดกับจำเลยเรื่องทำร้ายหลานชายผู้เสียหายซึ่งเป็นใบ้ จำเลยไม่พอใจผู้เสียหายและพูดว่า เดี๋ยวยิง ผู้เสียหายท้าให้ยิง จำเลยจึงควักปืนออกมาปากกระบอกเพิ่งพ้นจากเอวยังไม่ทันหันมาทางผู้เสียหาย ก็ถูกผู้เสียหายแย่งไปได้ การที่จำเลยชักปืนออกมาเป็นเพียงเตรียมการเอาปืนออกมาเท่านั้น ยังไม่ถึงขั้นลงมือ การที่จำเลยเพียงแต่ควักปืนยังไม่พ้นจากเอว จำเลยอาจทำท่าขู่ก็ได้ พฤติการณ์ยังไม่พอฟังว่าจำเลยมีเจตนาฆ่า การกระทำของจำเลยจึงยังไม่เป็นพยายามกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1647/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดพยายามฆ่า: การชักปืนยังไม่ถึงขั้นลงมือ ต้องมีเจตนาและกระทำไปในทิศทางที่จะทำให้ถึงแก่ความตาย
จำเลยมาพบผู้เสียหายที่บ่อน้ำ. ผู้เสียหายพูดกับจำเลยเรื่องทำร้ายหลานชายผู้เสียหายซึ่งเป็นใบ้. จำเลยไม่พอใจผู้เสียหายและพูดว่า เดี๋ยวยิง. ผู้เสียหายท้าให้ยิง.จำเลยจึงควักปืนออกมาปากกระบอกเพิ่งพ้นจากเอวยังไม่ทันหันมาทางผู้เสียหาย. ก็ถูกผู้เสียหายแย่งไปได้. การที่จำเลยชักปืนออกมาเป็นเพียงเตรียมการเอาปืนออกมาเท่านั้นยังไม่ถึงขั้นลงมือ. การที่จำเลยเพียงแต่ควักปืนยังไม่พ้นจากเอว. จำเลยอาจทำท่าขู่ก็ได้. พฤติการณ์ยังไม่พอฟังว่าจำเลยมีเจตนาจะฆ่า. การกระทำของจำเลยจึงยังไม่เป็นพยายามกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1647/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พยายามฆ่า: การชักปืนยังไม่ถึงขั้นลงมือ ต้องมีเจตนาและพฤติการณ์ที่แสดงออกถึงความประสงค์ที่จะฆ่า
จำเลยมาพบผู้เสียหายที่บ่อน้ำ ผู้เสียหายพูดกับจำเลยเรื่องทำร้ายหลานชายผู้เสียหายซึ่งเป็นใบ้ จำเลยไม่พอใจผู้เสียหายและพูดว่า เดี๋ยวยิง ผู้เสียหายท้าให้ยิง จำเลยจึงควักปืนออกมาปากกระบอกเพิ่งพ้นจากเอวยังไม่ทันหันมาทางผู้เสียหาย ก็ถูกผู้เสียหายแย่งไปได้ การที่จำเลยชักปืนออกมาเป็นเพียงเตรียมการเอาปืนออกมาเท่านั้นยังไม่ถึงขั้นลงมือ การที่จำเลยเพียงแต่ควักปืนยังไม่พ้นจากเอว จำเลยอาจทำท่าขู่ก็ได้ พฤติการณ์ยังไม่พอฟังว่าจำเลยมีเจตนาจะฆ่า การกระทำของจำเลยจึงยังไม่เป็นพยายามกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1618/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องละเมิดต้องระบุสิทธิที่ชัดเจน การกลบลำเหมืองในที่ดินของตน เจ้าของสิทธิทำได้
โจทก์ฟ้องตั้งรูปคดีกล่าวหาว่าจำเลยกระทำละเมิดเอาดินถมปิดลำเหมืองของโจทก์ ซึ่งตั้งอยู่ในป่าไม่มีเจ้าของ มิได้ฟ้องว่าลำเหมืองอยู่ในที่ดินของจำเลย และจำเลยซึ่งเป็นเจ้าของภารยทรัพย์ กระทำการกลบลำเหมืองอันเป็นภารจำยอม เป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภารจำยอมลดไปหรือเสื่อมความสะดวก ศาลจะวินิจฉัยว่าโจทก์ได้ทรัพย์สิทธิภารจำยอมในลำเหมืองโดยอายุความหาได้ไม่ เพราะนอกประเด็นในคำฟ้อง
เมื่อฟ้องของโจทก์มิได้อ้างสิทธิ ว่าโจทก์ได้ทรัพย์สิทธิภารจำยอมในลำเหมืองพิพาท ก็ต้องถือว่าโจทก์มิได้เป็นผู้ทรงทรัพย์สิทธิภารจำยอมในลำเหมืองพิพาท จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่ลำเหมืองพิพาทตั้งอยู่ย่อมมีสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 กลบลำเหมืองพิพาทเพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ บทบัญญัติ มาตรา 1337 หาลบล้างสิทธิของเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ในอันที่จะใช้สิทธิของตนตามมาตรา 1336 ไม่
กรณีที่จะเป็นละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 421 นั้น จะต้องเป็นการแกล้งโดยผู้กระทำมุ่งต่อผลคือความเสียหายแก่ผู้อื่นถ่ายเดียว แต่ถ้าเป็นการกระทำโดยประสงค์ต่อผลอันเป็นธรรมดาแห่งสิทธินั้น แม้ผู้กระทำจะเห็นว่าผู้อื่นจะได้รับความเสียหายบ้างก็ไม่เป็นละเมิด
เมื่อฟ้องของโจทก์มิได้อ้างสิทธิ ว่าโจทก์ได้ทรัพย์สิทธิภารจำยอมในลำเหมืองพิพาท ก็ต้องถือว่าโจทก์มิได้เป็นผู้ทรงทรัพย์สิทธิภารจำยอมในลำเหมืองพิพาท จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินที่ลำเหมืองพิพาทตั้งอยู่ย่อมมีสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 กลบลำเหมืองพิพาทเพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ บทบัญญัติ มาตรา 1337 หาลบล้างสิทธิของเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ในอันที่จะใช้สิทธิของตนตามมาตรา 1336 ไม่
กรณีที่จะเป็นละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 421 นั้น จะต้องเป็นการแกล้งโดยผู้กระทำมุ่งต่อผลคือความเสียหายแก่ผู้อื่นถ่ายเดียว แต่ถ้าเป็นการกระทำโดยประสงค์ต่อผลอันเป็นธรรมดาแห่งสิทธินั้น แม้ผู้กระทำจะเห็นว่าผู้อื่นจะได้รับความเสียหายบ้างก็ไม่เป็นละเมิด