คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สว่าง ภูวะปัจฉิม

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 469 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คดีล้มละลาย: การพิสูจน์ภาวะหนี้สินล้นพ้นตัวเป็นสำคัญ แม้ศาลวินิจฉัยเรื่องหนี้สิน แต่ไม่กระทบผลคำพิพากษา
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท). เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว. การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่. จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป.
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์. แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว. จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้.จึงขาดอายุความ. ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน. เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด. ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย. แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ. อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้. (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การล้มละลาย: การพิสูจน์ว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินเพียงพอชำระหนี้ได้ ทำให้ไม่ต้องพิจารณาหนี้สิน
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2501 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท) เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ไม่ขาดอายุความนั้น ไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้
(ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจำนวนผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1485/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คดีล้มละลาย: การพิสูจน์ฐานะลูกหนี้และการมีทรัพย์สินพอชำระหนี้เป็นปัจจัยสำคัญ
ประเด็นสำคัญในคดีล้มละลายมีอยู่ว่า จำเลยซึ่งถูกฟ้องขอให้ล้มละลายเป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวซึ่งมีกำหนดจำนวนหนี้สินแน่นอนเกินกว่าพันบาทหรือไม่ (หลังจากใช้พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 แล้ว จำนวนหนี้สินต้องไม่น้อยกว่าสามหมื่นบาท)เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยยังไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว การที่จำเลยจะเป็นหนี้โจทก์จริงหรือไม่ จึงไม่ใช่ประเด็นที่จะต้องชี้ขาดในชั้นนี้ เพราะไม่ทำให้ผลแห่งคำพิพากษาที่ยกฟ้องเปลี่ยนแปลงไป
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในคดีล้มละลายวินิจฉัยว่า ตามเอกสารที่โจทก์อ้างฟ้อง จำเลยได้ยืมเงินไปจากโจทก์ แต่การยืมตามเอกสารบางฉบับ เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว จำเลยไม่ได้รับสภาพหนี้ จึงขาดอายุความ ส่วนหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความนั้นไม่จำเป็นต้องชี้ขาดว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่เท่าใดแน่นอน เพราะจำเลยนำสืบได้ว่าจำเลยมีทรัพย์สินอาจชำระหนี้โจทก์ได้ทั้งหมด ไม่มีเหตุอันควรให้จำเลยล้มละลาย แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ แต่คำวินิจฉัยที่ว่า จำเลยยืมเงินไปจากโจทก์และหนี้ตามเอกสารบางฉบับยังไม่ขาดอายุความ อาจมีผลผูกพันจำเลยให้ต้องรับผิดในทางแพ่ง จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาคัดค้านได้ (ข้อกฎหมายวรรคท้ายนี้ สรุปจากผลที่ศาลฎีการับวินิจฉัยฎีกาของจำเลย)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับแรกบางส่วน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น และในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก มิให้นาตกเป็นของจำเลย ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่ เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย เงินสด 10,000 บาท ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้ ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657 เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่ เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก แต่เป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้ จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1415/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับแรกบางส่วน ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดต่อทายาทตามกฎหมาย
การแสดงเจตนาที่จะเป็นพินัยกรรมได้ จะต้องมีลักษณะเป็นคำสั่ง. คำสั่งนั้นเป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายกำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของบุคคลนั้น. และในการต่างๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย.
เจ้ามรดกมีหนังสือถึงโจทก์ซึ่งเป็นบุตร. แจ้งให้ทราบว่าตนทำพินัยกรรมลับไว้ที่อำเภอในหนังสือระบุว่า. ห้ามมิให้จำเลยขายที่นา. และห้ามมิให้จำเลยออกเงินส่วนตัวทำศพเจ้ามรดก. มิให้นาตกเป็นของจำเลย. ให้แบ่งนาให้โจทก์คนละ 5 ไร่. เหลือจากแบ่งห้ามมิให้จำเลยขายเอาเงินทำศพเจ้ามรดก. และไม่ให้นาส่วนที่เหลือตกเป็นของจำเลย. เงินสด 10,000 บาท. ถ้าทำศพเจ้ามรดกแล้วมีเงินเหลือมอบให้โจทก์ไป. ให้โจทก์เป็นผู้เก็บค่าเช่านา.ตอนท้ายของหนังสือมีความต่อไปว่า. ถ้าจำเลยไม่ปฏิบัติตามจดหมายนี้. ก็ให้โจทก์ไปร้องเรียนนายอำเภอ. ขอให้นายอำเภอถอนพินัยกรรมลับด้วย. ดังนี้ เอกสารหนังสือของเจ้ามรดกเป็นพินัยกรรม. และเข้าแบบพินัยกรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1657. เพราะเจ้ามรดกเขียนเองทั้งฉบับ. มีผลเป็นการเพิกถอนพินัยกรรมลับของเจ้ามรดกซึ่งทำไว้ฉบับแรกบางส่วนตามมาตรา 1694.
คดีที่มีจำเลยเป็นผู้จัดการมรดก. โจทก์ซึ่งเป็นทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกจากจำเลย. จำเลยจะยกอายุความมรดก 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์หาได้ไม่. เพราะกฎหมายบัญญัติเรื่องอายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดกที่ผู้จัดการมรดกจะต้องรับผิดต่อทายาทไว้โดยเฉพาะแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1733 วรรค 2 ซึ่งมีกำหนด 5 ปี. จำเลยมีสิทธิยกอายุความ 5 ปีนี้เท่านั้นขึ้นต่อสู้โจทก์.
จำเลยมิใช่บุคคลภายนอก. แต่เป็นผู้จัดการมรดก. ต้องถือว่าจำเลยยึดถือที่นามรดกไว้แทนโจทก์ซึ่งเป็นทายาท. จำเลยจะอ้างสิทธิว่าได้แย่งการครอบครองจากโจทก์มิได้. จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375 มาใช้บังคับไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1405/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์: บิดาไม่ได้จดทะเบียนสมรส/บุตร ไม่มีอำนาจฟ้อง
บิดาของผู้เยาว์ซึ่งไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์ ทั้งไม่ได้จดทะเบียนว่าผู้เยาว์เป็นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตร ไม่เป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ ที่จะมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(1)
แม้ภายหลังที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาแล้ว บิดาของผู้เยาว์ได้ไปจดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์ บิดาของผู้เยาว์ก็เพิ่งจะมีอำนาจปกครองผู้เยาว์นับแต่วันจดทะเบียนสมรส เมื่อขณะยื่นฟ้อง บิดาของผู้เยาว์ไม่ใช่ผู้ใช้อำนาจปกครอง จึงไม่ใช่ผู้แทนโดยชอบธรรม ของผู้เยาว์ ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1405/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องแทนผู้เยาว์: บิดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส/จดทะเบียนบุตร ไม่มีอำนาจฟ้องแทน
บิดาของผู้เยาว์ซึ่งไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์ ทั้งไม่ได้จดทะเบียนว่าผู้เยาว์เป็นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตร ไม่เป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ ที่จะมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 5(1)
แม้ภายหลังที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาแล้ว บิดาของผู้เยาว์ได้ไปจดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์ บิดาของผู้เยาว์ก็เพิ่งจะมีอำนาจปกครองผู้เยาว์นับแต่วันจดทะเบียนสมรส เมื่อขณะยื่นฟ้อง บิดาของผู้เยาว์ไม่ใช่ผู้ใช้อำนาจปกครอง จึงไม่ใช่ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1405/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์: บิดาไม่ได้จดทะเบียนสมรส/บุตร ไม่มีอำนาจฟ้อง
บิดาของผู้เยาว์ซึ่งไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์. ทั้งไม่ได้จดทะเบียนว่าผู้เยาว์เป็นบุตร. หรือศาลพิพากษาว่าผู้เยาว์เป็นบุตร. ไม่เป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์. ที่จะมีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5(1).
แม้ภายหลังที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาแล้ว. บิดาของผู้เยาว์ได้ไปจดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้เยาว์. บิดาของผู้เยาว์ก็เพิ่งจะมีอำนาจปกครองผู้เยาว์นับแต่วันจดทะเบียนสมรส เมื่อขณะยื่นฟ้อง บิดาของผู้เยาว์ไม่ใช่ผู้ใช้อำนาจปกครอง. จึงไม่ใช่ผู้แทนโดยชอบธรรม ของผู้เยาว์. ไม่มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1291/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: สิทธิคิดดอกเบี้ยสิ้นสุดเมื่อสัญญาหมดอายุ
โจทก์ (ธนาคาร) ตกลงให้จำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์มีข้อสัญญาว่าจำเลยจะชำระดอกเบี้ยรายเดือน. ถ้าไม่ชำระ.ยอมให้เอาดอกเบี้ยทบต้นและจะชำระเงินคืนใน 30เมษายน 2495 ครั้นถึงกำหนดดังกล่าว. โจทก์มีหนังสือไปทวงถามให้ชำระหนี้ สัญญาบัญชีเดินสะพัดจึงสิ้นสุดในวันที่30 เมษายน 2495. หลังจากนั้นโจทก์จะคิดดอกเบี้ยทบต้นอีกไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1291/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: สิทธิคิดดอกเบี้ยสิ้นสุดเมื่อสัญญาหมดอายุ
โจทก์ (ธนาคาร) ตกลงให้จำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์มีข้อสัญญาว่าจำเลยจะชำระดอกเบี้ยรายเดือน ถ้าไม่ชำระยอมให้เอาดอกเบี้ยทบต้นและจะชำระเงินคืนใน 30 เมษายน 2495 ครั้นถึงกำหนดดังกล่าว โจทก์มีหนังสือไปทวงถามให้ชำระหนี้ สัญญาบัญชีเดินสะพัดจึงสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน 2495 หลังจากนั้นโจทก์จะคิดดอกเบี้ยทบต้นอีกไม่ได้
of 47