พบผลลัพธ์ทั้งหมด 469 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 657/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบเรียกรับเงินจากประชาชน ผู้สนับสนุนมีความผิดฐานสนับสนุน
จำเลยที่ 1, 5, 6, 7 และ 8 ได้ร่วมกันเรียกร้องเงินจากผู้เสียหาย จำเลยที่ 1 มีตำแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านได้รับแต่งตั้งจากทางการให้มีหน้าที่สำรวจที่ดิน เมื่อจำเลยที่ 1 เรียกร้องขืนใจให้ผู้เสียหายที่มาแจ้งการสำรวจที่ดินมอบเงินให้ จำเลยที่ 1 มีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148ส่วนจำเลยที่ 5, 6, 7 และ 8 มิได้มีหน้าที่ในการสำรวจที่ดินด้วยจึงมีความผิดเพียงเป็นผู้สนับสนุนในการกระทำผิดของจำเลยที่ 1ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 ประกอบด้วยมาตรา 86
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 657/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบเรียกรับเงินจากประชาชน และความผิดฐานสนับสนุน
จำเลยที่ 1, 5, 6, 7 และ 8 ได้ร่วมกันเรียกร้องเงินจากผู้เสียหายจำเลยที่ 1 มีตำแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านได้รับแต่งตั้งจากทางการให้มีหน้าที่สำรวจที่ดิน เมื่อจำเลยที่ 1 เรียกร้องขืนใจให้ผู้เสียหายที่มาแจ้งการสำรวจที่ดินมอบเงินให้ จำเลยที่ 1 มีความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148ส่วนจำเลยที่ 5, 6, 7 และ 8 มิได้มีหน้าที่ในการสำรวจที่ดินด้วยจึงมีความผิดเพียงเป็นผู้สนับสนุนในการกระทำผิดของจำเลยที่ 1ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 ประกอบด้วยมาตรา 86
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลร้องขัดทรัพย์: คำนวณจากราคาประเมินทรัพย์สินยึด ไม่ใช่จำนวนหนี้ตามคำพิพากษา
การร้องขัดทรัพย์ถือเสมือนหนึ่งว่าเป็นการฟ้องคดีซึ่งเริ่มด้วยการยื่นคำร้องขอต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง คือ ตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีตีราคาไว้ ไม่ใช่เสียตามทุนทรัพย์ที่โจทก์จะได้รับชำระหนี้จากจำเลย และแม้ทรัพย์นั้นจะติดจำนองอยู่ ก็ต้องเสียค่าขึ้นศาลเต็มราคา จะหักหนี้จำนองออกก่อนไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลในคดีขัดทรัพย์: คำนวณจากราคาประเมินทรัพย์สิน ไม่ใช่จำนวนหนี้ตามคำพิพากษา
การร้องขัดทรัพย์ถือเสมือนหนึ่งว่าเป็นการฟ้องคดีซึ่งเริ่มด้วยการยื่นคำร้องขอต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง คือ ตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีตีราคาไว้ ไม่ใช่เสียตามทุนทรัพย์ที่โจทก์จะได้รับชำระหนี้จากจำเลย และแม้ทรัพย์นั้นจะติดจำนองอยู่ ก็ต้องเสียค่าขึ้นศาลเต็มราคา จะหักหนี้จำนองออกก่อนไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 652/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนการขุดร่องน้ำ แม้ไม่ได้จดทะเบียน ก็มีผลผูกพันบังคับได้ระหว่างคู่สัญญา
การที่โจทก์จำเลยตกลงกันให้โจทก์ขุดร่องน้ำผ่านที่นาของจำเลยเพื่อใช้สอยน้ำร่วมกัน แม้จะไม่ได้จดทะเบียนทรัพย์สิทธิต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แต่ก็ถือได้ว่าเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง มีผลก่อให้เกิดบุคคลสิทธิในอันที่จะเรียกร้องบังคับกันได้ในระหว่างคู่สัญญา (อ้างฎีกาที่ 760/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 652/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนการขุดร่องน้ำ: สิทธิเรียกร้องบังคับได้แม้ไม่ได้จดทะเบียน
การที่โจทก์จำเลยตกลงกันให้โจทก์ขุดร่องน้ำผ่านที่นาของจำเลยเพื่อใช้สอยน้ำร่วมกัน แม้จะไม่ได้จดทะเบียนทรัพย์สิทธิต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แต่ก็ถือได้ว่าเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง มีผลก่อให้เกิดบุคคลสิทธิในอันที่จะเรียกร้องบังคับกันได้ในระหว่างคู่สัญญา (อ้างฎีกาที่ 760/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 649/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความสัญญาผูกขาด: ค่าผูกขาดรายปีต้องชำระล่วงหน้าหรือไม่ และผลของการผิดนัดชำระ
ข้อสัญญาว่า ผู้รับผูกขาดจะต้องชำระเงินค่าผูกขาดล่วงหน้าในปีแรกภายใน 15 วัน นับแต่วันสร้างท่าเทียบเรือเสร็จ ส่วนในปีต่อไปจะต้องชำระค่าผูกขาดภายในเดือนตุลาคมของทุก ๆ ปี ดังนี้หมายความว่าค่าผูกขาดสำหรับปีที่ 2 และปีต่อ ๆ ไปจะต้องชำระล่วงหน้าด้วย
โจทก์ให้จำเลยผูกขาดจัดการท่าเทียบเรือ 10 ปี คิดค่าผูกขาดเป็นรายปีจำเลยผิดสัญญาไม่ชำระค่าผูกขาดปีที่ 2 โจทก์บอกเลิกสัญญาก่อนสิ้นระยะเวลาปีที่ 2 ดังนี้ จำเลยต้องใช้เงินตามควรค่าแห่งการที่ได้ใช้ท่าเทียบเรือของโจทก์นับแต่เริ่มปีที่ 2 จนถึงวันเลิกสัญญาส่วนระยะเวลาต่อจากนั้น ถ้าจำเลยยังไม่ออกไปจากท่าเทียบเรือของโจทก์โจทก์พึงได้รับค่าเสียหาย
(ข้อแรกวินิจฉัยโดยประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2512)
โจทก์ให้จำเลยผูกขาดจัดการท่าเทียบเรือ 10 ปี คิดค่าผูกขาดเป็นรายปีจำเลยผิดสัญญาไม่ชำระค่าผูกขาดปีที่ 2 โจทก์บอกเลิกสัญญาก่อนสิ้นระยะเวลาปีที่ 2 ดังนี้ จำเลยต้องใช้เงินตามควรค่าแห่งการที่ได้ใช้ท่าเทียบเรือของโจทก์นับแต่เริ่มปีที่ 2 จนถึงวันเลิกสัญญาส่วนระยะเวลาต่อจากนั้น ถ้าจำเลยยังไม่ออกไปจากท่าเทียบเรือของโจทก์โจทก์พึงได้รับค่าเสียหาย
(ข้อแรกวินิจฉัยโดยประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 649/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความสัญญาผูกขาด: ค่าผูกขาดปีต่อๆไปถือเป็นค่าผูกขาดล่วงหน้า และสิทธิของเจ้าของสัญญาเมื่อผู้รับผูกขาดผิดนัด
ข้อสัญญาว่า ผู้รับผูกขาดจะต้องชำระเงินค่าผูกขาดล่วงหน้าในปีแรกภายใน 15 วัน นับแต่วันสร้างท่าเทียบเรือเสร็จ ส่วนในปีต่อไปจะต้องชำระค่าผูกขาดภายในเดือนตุลาคมของทุก ๆ ปี ดังนี้ หมายความว่าค่าผูกขาดสำหรับปีที่ 2 และปีต่อ ๆ ไปจะต้องชำระล่วงหน้าด้วย
โจทก์ให้จำเลยผูกขาดจัดการท่าเทียบเรือ 10 ปี คิดค่าผูกขาดเป็นรายปีจำเลยผิดสัญญาไม่ชำระค่าผูกขาดปีที่ 2 โจทก์บอกเลิกสัญญาก่อนสิ้นระยะเวลาปีที่ 2 ดังนี้ จำเลยต้องใช้เงินตามควรค่าแห่งการที่ได้ใช้ท่าเทียบเรือของโจทก์นับแต่เริ่มปีที่ 2 จนถึงวันเลิกสัญญาส่วนระยะเวลาต่อจากนั้น ถ้าจำเลยยังไม่ออกไปจากท่าเทียบเรือของโจทก์โจทก์พึงได้รับค่าเสียหาย
(ข้อแรกวินิจฉัยโดยประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2512)
โจทก์ให้จำเลยผูกขาดจัดการท่าเทียบเรือ 10 ปี คิดค่าผูกขาดเป็นรายปีจำเลยผิดสัญญาไม่ชำระค่าผูกขาดปีที่ 2 โจทก์บอกเลิกสัญญาก่อนสิ้นระยะเวลาปีที่ 2 ดังนี้ จำเลยต้องใช้เงินตามควรค่าแห่งการที่ได้ใช้ท่าเทียบเรือของโจทก์นับแต่เริ่มปีที่ 2 จนถึงวันเลิกสัญญาส่วนระยะเวลาต่อจากนั้น ถ้าจำเลยยังไม่ออกไปจากท่าเทียบเรือของโจทก์โจทก์พึงได้รับค่าเสียหาย
(ข้อแรกวินิจฉัยโดยประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมกันทำหนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการชำระหนี้เจ้าหนี้ เป็นละเมิดและโกงเจ้าหนี้
จำเลยสมยอมกันทำสัญญากู้และสมยอมกันทำยอมความในศาลเป็นผลให้เกิดการโอนทรัพย์สินของจำเลยคนหนึ่ง ไปยังอีกคนหนึ่งให้พ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาทำให้โจทก์ไม่อาจบังคับเอาทรัพย์สินของจำเลยมาชำระหนี้ได้เป็นการจงใจทำโดยผิดกฎหมายอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้โจทก์ย่อมเสียหาย ทางทรัพย์สินแล้ว การกระทำผิดกฎหมายดังนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 422 ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยเป็นผู้ผิดคือได้ทำละเมิดต่อโจทก์ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสอง ย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกันนิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสอง ย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกันนิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 648/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมยอมกันเพื่อหลีกเลี่ยงชำระหนี้เจ้าหนี้ ถือเป็นการโกงเจ้าหนี้และทำละเมิด
จำเลยสมยอมกันทำสัญญากู้และสมยอมกันทำยอมความในศาลเป็นผลให้เกิดการโอนทรัพย์สินของจำเลยคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งให้พ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้แก่โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาทำให้โจทก์ไม่อาจบังคับเอาทรัพย์สินของจำเลยมาชำระหนี้ได้ เป็นการจงใจทำโดยผิดกฎหมายอันเป็นความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ โจทก์ย่อมเสียหายทางทรัพย์สินแล้ว การกระทำผิดกฎหมายดังนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 422 ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจำเลยเป็นผู้ผิดคือได้ทำละเมิดต่อโจทก์ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสองย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกัน นิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)
คำพิพากษาที่พิพากษาตามที่จำเลยยอมความกันนั้น เป็นเรื่องระหว่างจำเลยทั้งสองย่อมไม่ผูกพันโจทก์ การทำการสมยอมกัน นิติกรรมระหว่างจำเลยย่อมเป็นโมฆะ โจทก์ไม่จำเป็นต้องฟ้องขอให้เพิกถอน
(ข้อแรกประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2512 และ 5/2512)