พบผลลัพธ์ทั้งหมด 154 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 917/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินกู้แล้วไม่สลักหลังสัญญา ไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกงหรือยักยอกทรัพย์ เพราะกรรมสิทธิ์ในเงินเป็นของเจ้าหนี้
การที่เจ้าหนี้ได้รรับต้นเงินและดอกเบี้ยมาแล้วไม่สลักหลังในสัญญากู้ตามที่รับฝากไว้กับลูกหนี้นั้น ไม่ผิดฐานฉ้อโกง และเมื่อเอาเงินดังว่านี้ไปเป็นประโยชน์ตนและผู้อื่นนั้นก็ไม่ผิดฐานยักยอก เพราะเงินนี้เป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าหนี้แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: การร้องทุกข์ต่อตำรวจถือเป็นการเริ่มนับอายุความ แม้ฟ้องเกิน 3 เดือน แต่ยังไม่ขาดอายุความ 5 ปี
การให้ตำรวจจับผู้ต้องหาถือว่าเป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมายแล้ว
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวน ภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือน แต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญา คดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวน ภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือน แต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญา คดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: การแจ้งความถือเป็นการร้องทุกข์ คดีไม่ขาดอายุความหากฟ้องภายใน 5 ปี
การแจ้งให้ตำรวจจับผู้ต้องหาถือว่าเป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมายแล้ว
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวนภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือนแต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญาคดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวนภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือนแต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญาคดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจร้องทุกข์: หลักเกณฑ์การมอบอำนาจให้ผู้อื่นร้องทุกข์แทน และข้อจำกัดของเอกสารมอบอำนาจ
ตามธรรมดาบุคคลย่อมตั้งตัวแทนทำแทนตนได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษทำนองว่า ให้ต้องกระทำด้วยตนเอง หรือตามสภาพไม่เปิดช่อง ให้มอบหมายจัดการแทนกันได้
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่าต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า(กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์เจ้าหน้าที่ของธนาคารเป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่าไม่ใช่คำร้องทุกข์โดยตนเองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่าให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่าต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า(กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์เจ้าหน้าที่ของธนาคารเป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่าไม่ใช่คำร้องทุกข์โดยตนเองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่าให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 755/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจในการร้องทุกข์อาญา: หลักเกณฑ์และข้อจำกัดของเอกสารมอบอำนาจที่ใช้ได้
ตามธรรมดาบุคคลย่อมตั้งตัวแทนทำแทนตนได้เสมอ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษทำนองว่า ให้ต้องกระทำด้วยตนเอง หรือตามสภาพไม่เปิดช่องให้มอบหมายจัดการแทนกันได้
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5 มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่า ต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า (กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์ เจ้าหน้าที่ของธนาคาร เป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่า ไม่ใช่คำร้องทุกข์ โดยตนเองตามป.วิ.อ. มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่า ให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
เรื่องร้องทุกข์ตามที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 3 และ 5 นั้น มิใช่หมายความว่า ห้ามขาดไม่ให้มีการมอบอำนาจกัน เป็นแต่บัญญัติให้บุคคลดังกล่าวในมาตรา 5 มีอำนาจกระทำกิจการที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 3 โดยไม่ต้องมีการมอบอำนาจซึ่งกันและกัน ส่วนกิจการในมาตรา 3 กิจการใดจะมอบอำนาจกันได้หรือไม่ ต้องเป็นไปตามหลักธรรมดา สุดแต่ว่า กรณีใดมีกฎหมายห้าม หรือเป็นกรณีตามสภาพต้องกระทำเองหรือไม่ เรื่องร้องทุกข์ไม่มีกฎหมายบังคับว่า ต้องกระทำด้วยตนเอง และตามสภาพของการร้องทุกข์ก็เป็นเรื่องเปิดช่องให้จัดการแทนกันได้ การร้องทุกข์จึงมอบอำนาจให้ร้องแทนกันได้
หนังสือถึงพนักงานสอบสวน ซึ่งมีข้อความว่า "เนื่องด้วยธนาคารมีเรื่องบางอย่างที่ต้องแจ้งความต่อเจ้าพนักงานตำรวจแต่เนื่องจากข้าพเจ้า (กรรมการผู้จัดการนิติบุคคล) มีกิจจำเป็นไม่สามารถมาแจ้งความด้วยตนเองได้ โดยหนังสือฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบอำนาจให้นายสุรินทร์ เจ้าหน้าที่ของธนาคาร เป็นผู้แจ้งความแทนข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอรับรองผิดชอบในการที่นายสุรินทร์ปฏิบัติแทนข้าพเจ้า" และลงชื่อกรรมการผู้จัดการนิติบุคคลนั้น ถือว่า ไม่ใช่คำร้องทุกข์ โดยตนเองตามป.วิ.อ. มาตรา 123 จะว่าเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์ก็ไม่ถนัด เพราะการแจ้งความนั้น อาจเป็นการร้องทุกข์ก็ได้ ไม่ใช่ก็ได้ และก็ไม่มีข้อความให้เห็นว่า ให้มาแจ้งความเรื่องอะไร อันจะพอวินิจฉัยได้ว่าเป็นการมอบให้มาร้องทุกข์ ถือไม่ได้ว่าเป็นเอกสารมอบอำนาจให้ร้องทุกข์
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2502)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 602/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหุ้นส่วนทำเสาโทรเลขแล้วเบียดบังเงิน: ไม่เป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์หากไม่มีการมอบหมายให้รับเงินแทน
ข้อเท็จจริงฟังได้แต่เพียงว่าโจทก์เป็นผู้ประมูลซื้อเสาโทรเลขให้แก่กรมไปรษณีย์โทรเลขแล้วโจทก์กับจำเลยเข้าหุ้นกันทำเสาส่ง และจำเลยเป็นผู้เข้าทำสัญญากับกรมไปรษณีย์โทรเลขเสียเอง โจทก์มิได้มอบหมายให้จำเลยทำการแทนหรือรับมอบเงินแทน เมื่อจำเลยได้รับเงินมาแล้วเพิกเฉยยังไม่แบ่งปันให้โจทก์เพียงเท่านี้จะถือว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังเอาทรัพย์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 602/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหุ้นส่วนทำเสาโทรเลขและการยักยอกทรัพย์ การรับเงินแทนโดยไม่แบ่งปันไม่ถือเป็นเจตนาทุจริต
ข้อเท็จจริงฟังได้แต่เพียงว่าโจทก์เป็นผู้ประมูลซื้อเสาโทรเลขให้แก่กรมไปรษณีย์โทรเลขแล้วโจทก์กับจำเลยเข้าหุ้นกันทำเสาส่งและจำเลยเป็นผู้เข้าทำสัญญากับกรมไปรษณีย์โทรเลขเสียเองโจทก์มิได้มอบหมายให้จำเลยทำการแทนหรือรับมอบเงินแทน เมื่อจำเลยได้รับเงินมาแล้วเพิกเฉยยังไม่แบ่งปันให้โจทก์ เพียงเท่านี้จะถือว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังเอาทรัพย์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 326/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยักยอกทรัพย์: ผู้จัดการมรดกไม่ได้เป็นผู้รับมอบอำนาจดูแลทรัพย์สินของผู้อื่น จึงไม่เข้าข่ายความผิดฐานยักยอก
การที่สามีจำเลยได้รับมอบหมายให้ดูแลรักษาโฉนดที่ดินของโจทก์ไว้ แล้วต่อมาสามีถึงแก่กรรม จำเลยเป็นผู้รับมรดกและเป็นผู้จัดการมรดกของสามีตามคำสั่งศาลจะถือว่าจำเลยได้รับมอบหมายให้ดูแลรักษาหรือเก็บทรัพย์หรือจัดการทรัพย์(ของโจทก์)ที่สามีได้รับมอบหมายให้ดูแลรักษา สืบต่อจากสามีไม่ได้ แม้จำเลยจะถือโอกาสที่โฉนดมีชื่อสามีได้ไปขอใบแทนโฉนดอ้างว่าโฉนดเดิมหายแล้วโอนขายที่ดินให้จำเลยที่ 2 ไปตามพฤติการณ์ดังนี้การกระทำของจำเลยไม่เป็นผิดฐานยักยอก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1966/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายเงินไม่ครบและหักค่านายหน้าไม่ใช่ยักยอก เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง
โจทก์เป็นนายหน้าขายฝากให้แก่จำเลย ผู้ขายฝากตกลงให้ค่านายหน้าแก่โจทก์ โจทก์ตกลงมอบให้จำเลยรับแทน
เมื่อวันทำสัญญาขายฝากจำเลยจ่ายเงินให้ผู้ขายฝากไม่ครบโดยหักค่านายหน้าไว้ กรณีดังกล่าวนี้ ระหว่างจำเลยกับผู้ขายฝากก็เป็นเรื่องจำเลยยังชำระหนี้ไม่ครบ ระหว่างจำเลยกับโจทก์ก็เป็นเรื่องหักเงินค่านายหน้าจากผู้ขายฝากไว้แล้วไม่ส่งมอบให้แก่โจทก์ตามที่ตกลงกันไว้ ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่งทั้งสิ้น ไม่มีกรรมอันใดที่ประกอบให้เป็นองค์ความผิดในทางอาญาฐานยักยอกได้เลย.
เมื่อวันทำสัญญาขายฝากจำเลยจ่ายเงินให้ผู้ขายฝากไม่ครบโดยหักค่านายหน้าไว้ กรณีดังกล่าวนี้ ระหว่างจำเลยกับผู้ขายฝากก็เป็นเรื่องจำเลยยังชำระหนี้ไม่ครบ ระหว่างจำเลยกับโจทก์ก็เป็นเรื่องหักเงินค่านายหน้าจากผู้ขายฝากไว้แล้วไม่ส่งมอบให้แก่โจทก์ตามที่ตกลงกันไว้ ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่งทั้งสิ้น ไม่มีกรรมอันใดที่ประกอบให้เป็นองค์ความผิดในทางอาญาฐานยักยอกได้เลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1966/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักเงินค่านายหน้าจากผู้ขายฝากแล้วไม่ส่งมอบให้โจทก์ ไม่เข้าข่ายความผิดฐานยักยอก เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่ง
โจทก์เป็นนายหน้าขายฝากให้แก่จำเลย ผู้ขายฝากตกลงให้ค่านายหน้าแก่โจทก์ โจทก์ตกลงมอบให้จำเลยรับแทน
เมื่อวันทำสัญญาขายฝากจำเลยจ่ายเงินให้ผู้ขายฝากไม่ครบโดยหักค่านายหน้าไว้ กรณีดังกล่าวนี้ ระหว่างจำเลยกับผู้ขายฝากก็เป็นเรื่องจำเลยยังชำระหนี้ไม่ครบ ระหว่างจำเลยกับโจทก์ก็เป็นเรื่องหักเงินค่านายหน้าจากผู้ขายฝากไว้แล้วไม่ส่งมอบให้แก่โจทก์ตามที่ตกลงกันไว้ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่งทั้งสิ้น ไม่มีกรรมอันใดที่ประกอบให้เป็นองค์ความผิดในทางอาญาฐานยักยอกได้เลย
เมื่อวันทำสัญญาขายฝากจำเลยจ่ายเงินให้ผู้ขายฝากไม่ครบโดยหักค่านายหน้าไว้ กรณีดังกล่าวนี้ ระหว่างจำเลยกับผู้ขายฝากก็เป็นเรื่องจำเลยยังชำระหนี้ไม่ครบ ระหว่างจำเลยกับโจทก์ก็เป็นเรื่องหักเงินค่านายหน้าจากผู้ขายฝากไว้แล้วไม่ส่งมอบให้แก่โจทก์ตามที่ตกลงกันไว้ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องผิดสัญญาทางแพ่งทั้งสิ้น ไม่มีกรรมอันใดที่ประกอบให้เป็นองค์ความผิดในทางอาญาฐานยักยอกได้เลย