พบผลลัพธ์ทั้งหมด 270 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1318/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภูมิลำเนาบริษัทต่างประเทศในไทยกับการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
บริษัทต่างประเทศซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่นอกราชอาณาจักร ขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย เมื่อบริษัทนั้นมีสาขาสำนักงานในประเทศไทย และหนี้นั้นเป็นหนี้ที่เกิดแต่การที่จำเลยซื้อสินค้าจากสาขาสำนักงานของบริษัท ซึ่งถือได้ว่าบริษัทนั้นมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทยด้วยตามประมวลกฎฆมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 71 วรรค 2 การขอรับชำระหนี้ในกรณีเช่นนี้ไม่จำต้องพิสูจน์ตามเงื่อนไขในมาตรา 178 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1808/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน, การล้มละลายของลูกหนี้, ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน, อัตราดอกเบี้ย, อายุความ
พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (1) นั้น หมายถึงบุคคลประเภทที่ซื้อและขายสินค้าเป็นปกติธุระ ธนาคารพาณิชย์ที่ประกอบกิจการค้าตามวิธีการของธนาคาร หาใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งอนุมาตรานี้ไม่ จะใช้อายุความ 2 ปีมาปรับแก่คดีไม่ได้
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลย ซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้ จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระหนี้เสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลย ซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้ จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1808/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้ำประกันเมื่อลูกหนี้ล้มละลาย และอายุความฟ้องคดีซื้อขายสินค้า
พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา165(1) นั้นหมายถึงบุคคลประเภทที่ซื้อและขายสินค้าเป็นปกติธุระ. ธนาคารพาณิชย์ที่ประกอบกิจการค้าตามวิธีการของธนาคาร. หาใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งอนุมาตรานี้ไม่.จะใช้อายุความ 2 ปีมาปรับแก่คดีไม่ได้.
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร. เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ.
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง. เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย. ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้.จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688. การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์. เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย. โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น. ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่.
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร. เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนด ก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ.
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง. เนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย. ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้.จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688. การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์. เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย. โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น. ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1808/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีแพ่ง, สัญญาค้ำประกัน, ผลกระทบการล้มละลายของลูกหนี้ต่อผู้ค้ำประกัน, อัตราดอกเบี้ย
พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา165(1) นั้นหมายถึงบุคคลประเภทที่ซื้อและขายสินค้าเป็นปกติธุระ ธนาคารพาณิชย์ที่ประกอบกิจการค้าตามวิธีการของธนาคาร หาใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งอนุมาตรานี้ไม่จะใช้อายุความ 2 ปีมาปรับแก่คดีไม่ได้
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนดก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
จำเลยเข้าทำสัญญาค้ำประกัน ยินยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ12 ต่อปีให้แก่ธนาคาร เมื่อผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามกำหนดก็ต้องเสียดอกเบี้ยตามอัตรานี้ตลอดไปจนกว่าจะชำระเงินเสร็จ
ศาลพิพากษายกฟ้องจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้โดยโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องเนื่องจากลูกหนี้ล้มละลาย ศาลก็มีอำนาจที่จะพิจารณาคดีสำหรับจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันต่อไปได้จำเลยผู้ค้ำประกันหาพ้นความรับผิดไม่ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 688 การที่โจทก์ไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อจำเลยซึ่งเป็นลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนั้น เป็นเรื่องของโจทก์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติล้มละลาย โจทก์ก็หมดสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้รายนี้ได้เท่านั้น ส่วนจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะเป็นผู้ค้ำประกันอยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 451/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้และการรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย การเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
แม้ พ. จะเป็นภรรยาเจ้าหนี้. แต่หนี้ที่ลูกหนี้มีต่อ พ. กับหนี้ที่มีต่อเจ้าหนี้เป็นหนี้ต่างรายกัน และเป็นเจ้าหนี้คนละคน. ฉะนั้น การนำเอาหนี้ที่มีต่อ พ.มาแถลงเป็นหนี้ของเจ้าหนี้จึงเป็นการเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้.ซึ่งต้องบังคับตามบทบัญญัติทั้งหลายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยโอนสิทธิเรียกร้องตามมาตรา349 วรรคท้าย. แต่คู่กรณีมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว. ฉะนั้น การแปลงหนี้ตามเช็คในส่วนของพ. มาเป็นหนี้เงินกู้ของเจ้าหนี้ จึงไม่สมบูรณ์. เจ้าหนี้จะนำเอาหนี้จำนวนนี้มารวมกับหนี้ของเจ้าหนี้เพื่อขอรับชำระหนี้ด้วยไม่ได้.
หนี้ตามเช็คที่ลูกหนี้มีต่อเจ้าหนี้ แม้ว่าเช็คจะไม่ได้ลงวันที่ แต่ลูกหนี้ก็เป็นหนี้เจ้าหนี้อยู่จริง. เมื่อมีหนี้ต่อกันแล้วคู่กรณีก็อาจแปลงหนี้ให้เป็นหนี้เงินกู้ได้ หนี้ตามสัญญากู้ที่เจ้าหนี้นำมาขอรับชำระหนี้จึงมีผลสมบูรณ์.
คดีพิพาทกันด้วยเรื่องคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย ซึ่งมีบัญญัติไว้เป็นกฎหมายพิเศษอยู่แล้วตามพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 มาตรา 11. ฉะนั้นค่าขึ้นศาลชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาจึงต้องเสียอัตราครั้งละสองร้อยบาท. จะเรียกค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ไม่ได้.และจะเรียกเพียง 50 บาทอย่างคดีไม่มีทุนทรัพย์ก็ไม่ได้. เพราะกรณีไม่ใช่คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง.
หนี้ตามเช็คที่ลูกหนี้มีต่อเจ้าหนี้ แม้ว่าเช็คจะไม่ได้ลงวันที่ แต่ลูกหนี้ก็เป็นหนี้เจ้าหนี้อยู่จริง. เมื่อมีหนี้ต่อกันแล้วคู่กรณีก็อาจแปลงหนี้ให้เป็นหนี้เงินกู้ได้ หนี้ตามสัญญากู้ที่เจ้าหนี้นำมาขอรับชำระหนี้จึงมีผลสมบูรณ์.
คดีพิพาทกันด้วยเรื่องคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย ซึ่งมีบัญญัติไว้เป็นกฎหมายพิเศษอยู่แล้วตามพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 มาตรา 11. ฉะนั้นค่าขึ้นศาลชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาจึงต้องเสียอัตราครั้งละสองร้อยบาท. จะเรียกค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ไม่ได้.และจะเรียกเพียง 50 บาทอย่างคดีไม่มีทุนทรัพย์ก็ไม่ได้. เพราะกรณีไม่ใช่คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 451/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้และการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย: การเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
แม้ พ. จะเป็นภรรยาเจ้าหนี้ แต่หนี้ที่ลูกหนี้มีต่อ พ. กับหนี้ที่มีต่อเจ้าหนี้เป็นหนี้ต่างรายกัน และเป็นเจ้าหนี้คนละคน ฉะนั้น การนำเอาหนี้ที่มีต่อ พ. มาแถลงเป็นหนี้ของเจ้าหนี้จึงเป็นการเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ซึ่งต้องบังคับตามบทบัญญัติทั้งหลายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยโอนสิทธิเรียกร้องตามมาตรา349 วรรคท้ายแต่คู่กรณีมิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวฉะนั้น การแปลงหนี้ตามเช็คในส่วนของพ. มาเป็นหนี้เงินกู้ของเจ้าหนี้ จึงไม่สมบูรณ์ เจ้าหนี้จะนำเอาหนี้จำนวนนี้มารวมกับหนี้ของเจ้าหนี้เพื่อขอรับชำระหนี้ด้วยไม่ได้
หนี้ตามเช็คที่ลูกหนี้มีต่อเจ้าหนี้ แม้ว่าเช็คจะไม่ได้ลงวันที่ แต่ลูกหนี้ก็เป็นหนี้เจ้าหนี้อยู่จริงเมื่อมีหนี้ต่อกันแล้วคู่กรณีก็อาจแปลงหนี้ให้เป็นหนี้เงินกู้ได้ หนี้ตามสัญญากู้ที่เจ้าหนี้นำมาขอรับชำระหนี้จึงมีผลสมบูรณ์
คดีพิพาทกันด้วยเรื่องคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย ซึ่งมีบัญญัติไว้เป็นกฎหมายพิเศษอยู่แล้วตามพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 มาตรา 11 ฉะนั้นค่าขึ้นศาลชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาจึงต้องเสียอัตราครั้งละสองร้อยบาท จะเรียกค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ไม่ได้และจะเรียกเพียง 50 บาทอย่างคดีไม่มีทุนทรัพย์ก็ไม่ได้ เพราะกรณีไม่ใช่คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
หนี้ตามเช็คที่ลูกหนี้มีต่อเจ้าหนี้ แม้ว่าเช็คจะไม่ได้ลงวันที่ แต่ลูกหนี้ก็เป็นหนี้เจ้าหนี้อยู่จริงเมื่อมีหนี้ต่อกันแล้วคู่กรณีก็อาจแปลงหนี้ให้เป็นหนี้เงินกู้ได้ หนี้ตามสัญญากู้ที่เจ้าหนี้นำมาขอรับชำระหนี้จึงมีผลสมบูรณ์
คดีพิพาทกันด้วยเรื่องคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย ซึ่งมีบัญญัติไว้เป็นกฎหมายพิเศษอยู่แล้วตามพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 มาตรา 11 ฉะนั้นค่าขึ้นศาลชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีกาจึงต้องเสียอัตราครั้งละสองร้อยบาท จะเรียกค่าขึ้นศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกาอย่างคดีมีทุนทรัพย์ไม่ได้และจะเรียกเพียง 50 บาทอย่างคดีไม่มีทุนทรัพย์ก็ไม่ได้ เพราะกรณีไม่ใช่คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ไม่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: การยื่นคำขอรับชำระหนี้ซ้ำได้เพื่อคุ้มครองสิทธิ
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส. ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป แต่ปรากฏว่าบริษัท ส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลายมาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเรียกร้องหนี้จากผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้อีก แม้เคยได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไปแต่ปรากฏว่าบริษัท ส. ถูกพิพากษาให้ล้มละลายเจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลยจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้ โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้นลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่99/2507 เสียก่อนก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกแต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 185/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับชำระหนี้ของผู้ค้ำประกันในคดีล้มละลาย: ยื่นคำขอได้แม้ลูกหนี้ได้รับชำระหนี้บางส่วน
หนี้เงินกู้เป็นหนี้ที่จำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันบริษัทส.ซึ่งได้กู้เงินเจ้าหนี้ไป.แต่ปรากฏว่าบริษัทส.ถูกพิพากษาให้ล้มละลาย. เจ้าหนี้ก็ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของบริษัท ส. และศาลได้สั่งให้ได้รับชำระหนี้เต็มจำนวน. ดังนี้การที่ศาลมีคำสั่งให้ผู้ขอรับชำระหนี้ในคดีแดงที่ 99/2507 ซึ่งบริษัท ส. เป็นลูกหนี้และล้มละลายให้ได้รับชำระหนี้นั้นมีผลเพียงให้ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้เต็มจำนวนที่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้เท่านั้น. ซึ่งผู้ขอรับชำระหนี้ยังไม่ได้รับชำระหนี้รายนี้เลย. จำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายมีหน้าที่ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้เพื่อชำระหนี้.ในเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้เต็มตามจำนวนที่เป็นหนี้. โดยผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระหนี้ได้เต็มตามจำนวนตามอำนาจของเจ้าหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194. และเมื่อปรากฏว่าจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย โดยหนี้นั้น.ลูกหนี้ยังไม่ได้ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้. ประกอบกับพระราชบัญญัติล้มละลาย มาตรา 91 ได้บัญญัติให้เจ้าหนี้ซึ่งจะขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลายต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลา 2 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด. ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีกในฐานะจำเลยผู้ล้มละลายเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ผู้ล้มละลายอีกคดีหนึ่งอยู่. ถ้าจะให้ผู้ขอรับชำระหนี้รอไว้จนกว่าจะได้รับส่วนแบ่งชำระหนี้จากคดีล้มละลายแดงที่ 99/2507 เสียก่อน.ก็จะพ้นกำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้.ผู้ขอรับชำระหนี้ไม่อาจจะยื่นคำขอรับชำระหนี้ได้. ทำให้ผู้ขอรับชำระหนี้เสียหายและลบล้างอำนาจของเจ้าหนี้ซึ่งมีอยู่. ฉะนั้น ผู้ขอรับชำระหนี้จึงมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีนี้ได้อีก. แต่ผู้ขอรับชำระหนี้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ในคดีนี้และคดีแดงที่ 99/2507 รวม 2 คดีไม่เกินจำนวนเงินตามที่เป็นเจ้าหนี้อยู่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1673/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย: สิทธิของเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาที่ไม่ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้
จำเลยได้รับอนุญาตจากศาลฎีกาให้ทุเลาการบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาในระหว่างฎีกา โดยนำโฉนดที่ดินมาวางเป็นประกัน เมื่อศาลฎีกาพิพากษาแล้ว การทุเลาการบังคับคดีก็สิ้นสุดลง การที่จำเลยร้องขอรับโฉนดที่ดินคืน ย่อมอยู่ในอำนาจของศาลชั้นต้นที่จะพิจารณาสั่ง
เมื่อจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แม้โจทก์จะเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ก็ต้องยื่นคำรับชำระหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด หากไม่ยื่นย่อมหมดสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ ไม่เกี่ยวกับการที่ศาลจะสั่งปลดจากล้มละลายหรือไม่
การที่จำเลยนำโฉนดที่ดินมาวางเป็นประกันในการขอทุเลาการบังคับคดีนั้นไม่ก่อให้เกิดบุริมสิทธิ และถือไม่ได้ว่าโจทก์เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นเจ้าหนี้มีประกันตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย
เมื่อจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แม้โจทก์จะเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ก็ต้องยื่นคำรับชำระหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด หากไม่ยื่นย่อมหมดสิทธิที่จะได้รับชำระหนี้ ไม่เกี่ยวกับการที่ศาลจะสั่งปลดจากล้มละลายหรือไม่
การที่จำเลยนำโฉนดที่ดินมาวางเป็นประกันในการขอทุเลาการบังคับคดีนั้นไม่ก่อให้เกิดบุริมสิทธิ และถือไม่ได้ว่าโจทก์เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นเจ้าหนี้มีประกันตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย