พบผลลัพธ์ทั้งหมด 75 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1238/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราในสัญญากู้: ศาลแยกจำนวนดอกเบี้ยออกจากต้นเงินได้ และคิดดอกเบี้ยนับแต่วันฟ้อง
ผู้กู้ย่อมนำสืบได้ว่า ผู้ให้กู้เอาจำนวนดอกเบี้ยเกินอัตรามารวมเป็นต้นเงินในสัญญากู้ล่วงหน้าเป็นการผิดกฎหมายได้
ดอกเบี้ยตามสัญญากู้เป็นโมฆะเพราะเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิได้รับดอกเบี้ยตั้งแต่วันทำสัญญากู้ และไม่ปรากฏว่าก่อนฟ้องได้มีการผิดนัด ลูกหนี้จึงต้องรับผิดใช้ดอกเบี้ยตั้งแต่วันฟ้องเป็นต้นไป
ดอกเบี้ยตามสัญญากู้เป็นโมฆะเพราะเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิได้รับดอกเบี้ยตั้งแต่วันทำสัญญากู้ และไม่ปรากฏว่าก่อนฟ้องได้มีการผิดนัด ลูกหนี้จึงต้องรับผิดใช้ดอกเบี้ยตั้งแต่วันฟ้องเป็นต้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการขีดฆ่าแก้ไขในพินัยกรรม: ไม่ทำให้พินัยกรรมเสียทั้งหมด หากไม่ใช่ส่วนสำคัญ
การที่มีรอยขีดฆ่าและตกเติมในพินัยกรรมบางแห่ง โดยผู้ทำ
พินัยกรรมกับพยานไม่ได้ลงชื่อกำกับไว้ให้ถูกต้องก็คงเสียไปเฉพาะที่ขีดฆ่าตกเติมนั้นเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ข้อความสำคัญ ไม่ทำพินัยกรรมเสียไปทั้งฉบับ
พินัยกรรมกับพยานไม่ได้ลงชื่อกำกับไว้ให้ถูกต้องก็คงเสียไปเฉพาะที่ขีดฆ่าตกเติมนั้นเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ข้อความสำคัญ ไม่ทำพินัยกรรมเสียไปทั้งฉบับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 635/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
แก้ไขพินัยกรรมเฉพาะส่วนไม่ทำให้พินัยกรรมเป็นโมฆะ หากส่วนแก้ไขไม่ใช่สาระสำคัญ
การที่มีรอยขีดฆ่าและตกเติมในพินัยกรรมบางแห่ง โดยผู้ทำพินัยกรรมกับพยานไม่ได้ลงชื่อกำกับไว้ให้ถูกต้อง ก็คงเสียไปเฉพาะที่ขีดฆ่าตกเติมนั้นเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ข้อความสำคัญ ไม่ทำให้พินัยกรรมเสียไปทั้งฉบับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1291/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงื่อนไขสลากกินแบ่ง: ผู้ซื้อมีสิทธิรับรางวัลแม้ไม่มีสลากฉบับจริง หากพิสูจน์ได้ว่าถูกรางวัล
เงื่อนไขที่พิมพ์ไว้ในสลากกินแบ่งรัฐบาลว่า " เงินรางวัลจ่ายแก่ผู้ถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลมาขอรับ " ก็ดี " ถ้าผู้ถูกรางวัลไม่สามารถนำสลากที่ถูกรางวัลมาขอรับเงินตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ไม่ว่าเป็นกรณีใด " ก็เป็นอันไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จ่ายเงินที่อ้างว่าถูกรางวัลนั้น" ก็ดี ยังแปลไม่ได้ว่าถึงแม้จะถูกรางวัลแล้ว ถ้าไม่ถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลมาแล้ว จะไม่ได้รับรางวัลตามที่มีสิทธิ
และแม้ว่าเงื่อนไข (ข้อกำหนด)ดังกล่าวจะได้แจกจ่ายและโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงแล้วก็ตาม ยังหาผูกมัดผู้ซื้อไม่ เพราะเป็นข้อความที่นอกออกไปจากข้อสัญญาที่จำเลยระบุไว้ในสลาก(ว่าจะจ่ายให้แก่ผู้ถูกรางวัล)จึงไม่เป็นเหตุจะให้ถือได้ว่าผู้ซื้อสลากได้รับเอาข้อสัญญาตามข้อกำหนดดังกล่าวนั้นไปด้วย(ฎีกาที่ 1372/2497)
และแม้ว่าเงื่อนไข (ข้อกำหนด)ดังกล่าวจะได้แจกจ่ายและโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงแล้วก็ตาม ยังหาผูกมัดผู้ซื้อไม่ เพราะเป็นข้อความที่นอกออกไปจากข้อสัญญาที่จำเลยระบุไว้ในสลาก(ว่าจะจ่ายให้แก่ผู้ถูกรางวัล)จึงไม่เป็นเหตุจะให้ถือได้ว่าผู้ซื้อสลากได้รับเอาข้อสัญญาตามข้อกำหนดดังกล่าวนั้นไปด้วย(ฎีกาที่ 1372/2497)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1291/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงื่อนไขการจ่ายรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล: ผู้ซื้อต้องถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลเพื่อรับเงินรางวัล
เงื่อนไขที่พิมพ์ไว้ในสลากกินแบ่งรัฐบาลว่า " เงินรางวัลจ่ายแก่ผู้ถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลมาขอรับ " ก็ดี " ถ้าผู้ถูกรางวัลไม่สามารถนำสลากที่ถูกรางวัลมาขอรับเงินตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ไม่ว่าเป็นกรณีใด " ก็เป็นอันไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จ่ายเงินที่อ้างว่าถูกรางวัลนั้น" ก็ดี ยังแปลไม่ได้ว่าถึงแม้จะถูกรางวัลแล้ว ถ้าไม่ถือสลากฉบับที่ถูกรางวัลมาแล้ว จะไม่ได้รับรางวัลตามที่มีสิทธิ
และแม้ว่าเงื่อนไข (ข้อกำหนด)ดังกล่าวจะได้แจกจ่ายและโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงแล้วก็ตาม ยังหาผูกมัดผู้ซื้อไม่ เพราะเป็นข้อความที่นอกออกไปจากข้อสัญญาที่จำเลยระบุไว้ในสลาก(ว่าจะจ่ายให้แก่ผู้ถูกรางวัล)จึงไม่เป็นเหตุจะให้ถือได้ว่าผู้ซื้อสลากได้รับเอาข้อสัญญาตามข้อกำหนดดังกล่าวนั้นไปด้วย(ฎีกาที่ 1372/2497)
และแม้ว่าเงื่อนไข (ข้อกำหนด)ดังกล่าวจะได้แจกจ่ายและโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงแล้วก็ตาม ยังหาผูกมัดผู้ซื้อไม่ เพราะเป็นข้อความที่นอกออกไปจากข้อสัญญาที่จำเลยระบุไว้ในสลาก(ว่าจะจ่ายให้แก่ผู้ถูกรางวัล)จึงไม่เป็นเหตุจะให้ถือได้ว่าผู้ซื้อสลากได้รับเอาข้อสัญญาตามข้อกำหนดดังกล่าวนั้นไปด้วย(ฎีกาที่ 1372/2497)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 174/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาต่างตอบแทนกับการรอการลงอาญา: การตกลงให้ค่าเลี้ยงดูและค่าทำศพหลังศาลรอการลงอาญา
จำเลยทำปืนลั่นถูกสามีโจทก์ตาย อัยการกำลังฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาอยู่ โจทก์จำเลยได้ ตกลงกันว่าให้โจทก์ยื่นคำร้องขอให้ศาลรอการลงอาญาจำเลย จำเลยจะให้ค่าเลี้ยงดูและค่าทำศพแก่โจทก์ข้อตกลงระหว่างโจทก์จำเลยในส่วนนี้เป็นสัญญาต่างตอบแทน อย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ใช่สัญญาปราณีประนอมยอมความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 779/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสภาพหนี้และการนำสืบเปลี่ยนแปลงเอกสารสัญญา รวมถึงผลของข้อตกลงการชำระหนี้ด้วยทรัพย์สิน
จำเลยรับว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้เงิน 4,000 บาท และสัญญามีข้อความว่า จำเลยรับเงินไปครบถ้วนแล้ว ดังนี้จำเลยจะขอนำสืบว่าความจริงจำเลยรับเงินไปเพียง 3,850 บาท ไม่ได้ เพราะเป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
สัญญากู้มีข้อความว่า ถ้าเกินกำหนดจำเลยยอมไปโอนกรรมสิทธิที่นาให้แก่โจทก์ แต่โจทก์มิได้ฟ้องขอให้จำเลยโอนชดใช้หนี้โจทก์ โดยมิได้คำนึงถึงราคาตลาด โจทก์ได้ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินกู้คืนด้วย ตาม ม.656 วรรค 2 และ 3 นั้น ข้อตกลงที่เป็นโมฆะก็เฉพาะในเรื่องคิดราคาทรัพย์ที่ชำระหนี้แทนเงิน หาทำให้สัญญากู้เสียไปทั้งฉบับไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า ถ้าเกินกำหนดจำเลยยอมไปโอนกรรมสิทธิที่นาให้แก่โจทก์ แต่โจทก์มิได้ฟ้องขอให้จำเลยโอนชดใช้หนี้โจทก์ โดยมิได้คำนึงถึงราคาตลาด โจทก์ได้ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินกู้คืนด้วย ตาม ม.656 วรรค 2 และ 3 นั้น ข้อตกลงที่เป็นโมฆะก็เฉพาะในเรื่องคิดราคาทรัพย์ที่ชำระหนี้แทนเงิน หาทำให้สัญญากู้เสียไปทั้งฉบับไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 779/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับรองจำนวนเงินกู้ในสัญญากู้ และผลกระทบของการไม่ฟ้องขอให้ชำระหนี้ด้วยทรัพย์สินตามราคาตลาด
จำเลยรับว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้เงิน 4,000 บาทและสัญญามีข้อความว่า จำเลยรับเงินไปครบถ้วนแล้วดังนี้จำเลยจะขอนำสืบว่าความจริงจำเลยรับเงินไปเพียง 3850บาท ไม่ได้ เพราะเป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
สัญญากู้มีข้อความว่า ถ้าเกินกำหนดจำเลยยอมไปโอนกรรมสิทธิที่นาให้แก่โจทก์ แต่โจทก์มิได้ฟ้องขอให้จำเลยโอนชดใช้หนี้โจทก์โดยมิได้คำนึงถึงราคาตลาดโจทก์ได้ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินกู้คืนด้วยตามมาตรา 656 วรรคสอง และ สามนั้น ข้อตกลงที่เป็นโมฆะก็เฉพาะในเรื่องคิดราคาทรัพย์ที่ชำระหนี้แทนเงิน หาทำให้สัญญากู้เสียไปทั้งฉบับไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า ถ้าเกินกำหนดจำเลยยอมไปโอนกรรมสิทธิที่นาให้แก่โจทก์ แต่โจทก์มิได้ฟ้องขอให้จำเลยโอนชดใช้หนี้โจทก์โดยมิได้คำนึงถึงราคาตลาดโจทก์ได้ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินกู้คืนด้วยตามมาตรา 656 วรรคสอง และ สามนั้น ข้อตกลงที่เป็นโมฆะก็เฉพาะในเรื่องคิดราคาทรัพย์ที่ชำระหนี้แทนเงิน หาทำให้สัญญากู้เสียไปทั้งฉบับไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 607/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราในสัญญากู้ยืม: แยกพิจารณาต้นเงินและดอกเบี้ยได้, การใช้เงินกู้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
ตกลงกู้เงิน 40000 บาทคิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 5 บาทต่อเดือนเป็นเวลา 10 เดือนเป็นเงิน 2000 บาท เอารวมไว้เป็นเงินกู้ด้วย เมื่อกรณีเป็นที่พึงสันนิษฐานได้ว่า คู่สัญญามีเจตนาที่จะแยกการกู้เงินและเรียกดอกเบี้ยออกต่างหากจากกันแล้ว ส่วนดอกเบี้ยที่เรียกเกินอัตราก็ตกเป็นโมฆะ แต่ต้นเงินกู้หาเป็นโมฆะด้วยไม่
การใช้เงินกู้ยืมที่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมา แสดงหรือได้เวนคืนเอกสาร หรือได้แทงเพิกถอนลงไว้แล้วเท่านั้น ทั้งนี้จะเป็นตัวผู้กู้ชำระเองหรือบุคคลที่ 3 เป็นผู้ชำระก็เช่นเดียวกัน เพราะมาตรา 653 มิได้บัญญัติยกเว้นถึงตัวบุคคลผู้ชำระหนี้ไว้เลย
การใช้เงินกู้ยืมที่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมา แสดงหรือได้เวนคืนเอกสาร หรือได้แทงเพิกถอนลงไว้แล้วเท่านั้น ทั้งนี้จะเป็นตัวผู้กู้ชำระเองหรือบุคคลที่ 3 เป็นผู้ชำระก็เช่นเดียวกัน เพราะมาตรา 653 มิได้บัญญัติยกเว้นถึงตัวบุคคลผู้ชำระหนี้ไว้เลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 607/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกู้เงิน ดอกเบี้ยเกินสัญญา และการพิสูจน์การชำระหนี้
ตกลงกู้เงินกัน 4,000 บาทคิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 5 บาทต่อเดือนเป็นเวลา 10 เดือน เป็นเงิน 2,000 บาท เอารวมไว้เป็นเงินกู้ด้วย เมื่อกรณีเป็นที่พึงสันนิษฐานได้ว่า คู่สัญญามีเจตนาที่จะแยกการกู้เงินและเรียกดอกเบี้ยออกต่างหากจากกันแล้ว ส่วนดอกเบี้ยที่เรียกเกินอัตราก็ตกเป็นโมฆะแต่ต้นเงินกู้หาเป็นโมฆะด้วยไม่
การใช้เงินกู้ยืมที่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดงหรือได้เวนคืนเอกสาร หรือได้แทงเพิกถอนลงไว้แล้วเท่านั้น ทั้งนี้จะเป็นตัวผู้กู้ชำระเองหรือบุคคลที่ 3 เป็นผู้ชำระก็เช่นเดียวกันเพราะมาตรา 653 มิได้บัญญัติยกเว้นถึงตัวบุคคลผู้ชำระหนี้ไว้เลย
การใช้เงินกู้ยืมที่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดงหรือได้เวนคืนเอกสาร หรือได้แทงเพิกถอนลงไว้แล้วเท่านั้น ทั้งนี้จะเป็นตัวผู้กู้ชำระเองหรือบุคคลที่ 3 เป็นผู้ชำระก็เช่นเดียวกันเพราะมาตรา 653 มิได้บัญญัติยกเว้นถึงตัวบุคคลผู้ชำระหนี้ไว้เลย