พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,813 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 322/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกที่ดินตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ. ๑๒๑ เมื่อมีผู้รับมรดกหลายคนและมีการเปลี่ยนแปลงสิทธิ
ข้อสันนิษฐานของกฎหมายในประมวลแพ่งฯ มาตรา 1357 ใช้เมื่อความจริงไม่ปรากฎ เมื่อมีข้อเท็จจริงปรากฎฟังได้ก็พึงถือตามข้อเท็จจริงนั้น
การที่จำเลยและโจทก์และทายาทอื่นรวม 14 คนมีชื่อในโฉนดแต่ พ.ศ.2465 เวลาจะแบ่งที่ในโฉนด ย่อมต้องแบ่งตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ.121 มาตรา 1 ข้อ 1 (2) คือ "ถ้าบุตรบางคนมรณภาพ ฯลฯ ให้เอาส่วนของบุตรที่มรณภาพแบ่งให้แก่หลานผู้มรณภาพ ซึ่งเป็นบุตรของบุตรผู้มรณภาพนั้น เหมือนอย่างว่าเป็นมรดกของบุตรผู้นั้นเองต่อ ๆ ลงไป ฯลฯ"
การที่จำเลยและโจทก์และทายาทอื่นรวม 14 คนมีชื่อในโฉนดแต่ พ.ศ.2465 เวลาจะแบ่งที่ในโฉนด ย่อมต้องแบ่งตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ.121 มาตรา 1 ข้อ 1 (2) คือ "ถ้าบุตรบางคนมรณภาพ ฯลฯ ให้เอาส่วนของบุตรที่มรณภาพแบ่งให้แก่หลานผู้มรณภาพ ซึ่งเป็นบุตรของบุตรผู้มรณภาพนั้น เหมือนอย่างว่าเป็นมรดกของบุตรผู้นั้นเองต่อ ๆ ลงไป ฯลฯ"
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 322/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกที่ดินตาม พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ. 121 กรณีมีผู้รับมรดกหลายคนและมีการเสียชีวิต
ข้อสันนิษฐานของกฎหมายในประมวลแพ่งฯ มาตรา 1357 ใช้เมื่อความจริงไม่ปรากฏเมื่อมีข้อเท็จจริงปรากฏฟังได้ก็พึงถือตามข้อเท็จจริงนั้น
การที่จำเลยและโจทก์และทายาทอื่นรวม 14 คนมีชื่อในโฉนดแต่ พ.ศ.2465 เวลาจะแบ่งที่ในโฉนดย่อมต้องแบ่งตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ.121 มาตรา 1 ข้อ 1(2) คือ 'ถ้าบุตรบางคนมรณภาพฯลฯ ให้เอาส่วนของบุตรที่มรณภาพแบ่งให้แก่หลานผู้มรณภาพซึ่งเป็นบุตรของบุตรผู้มรณภาพนั้นเหมือนอย่างว่าเป็นมรดกของบุตรผู้นั้นเองต่อๆ ลงไป ฯลฯ'
การที่จำเลยและโจทก์และทายาทอื่นรวม 14 คนมีชื่อในโฉนดแต่ พ.ศ.2465 เวลาจะแบ่งที่ในโฉนดย่อมต้องแบ่งตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมลักษณะมรดก ร.ศ.121 มาตรา 1 ข้อ 1(2) คือ 'ถ้าบุตรบางคนมรณภาพฯลฯ ให้เอาส่วนของบุตรที่มรณภาพแบ่งให้แก่หลานผู้มรณภาพซึ่งเป็นบุตรของบุตรผู้มรณภาพนั้นเหมือนอย่างว่าเป็นมรดกของบุตรผู้นั้นเองต่อๆ ลงไป ฯลฯ'
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 318/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลในคดีบังคับจำนอง: การยอมรับหนี้โดยไม่มีข้อต่อสู้
คำว่า ยอมรับ ในตาราง 1 (ค) หมายความว่ายอมรับชำระหนี้หรือให้ทรัพย์หลุดเป็นสิทธิตามข้อความในประโยคต้นโดยไม่มีข้อต่อสู้ ถ้าจำเลยต่อสู้เช่นว่า ยังไม่ได้รับคำบอกกล่าวบังคับจำนอง ย่อมฟังไม่ได้ว่าจำเลยยอมรับและจำต้องเสียค่าขึ้นศาลเต็มอัตรา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 318/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลในคดีบังคับจำนอง: การยอมรับหนี้โดยไม่มีข้อต่อสู้
คำว่า ยอมรับ ในตาราง 1(ค) หมายความว่ายอมรับชำระหนี้หรือให้ทรัพย์หลุดเป็นสิทธิตามข้อความในประโยคต้นโดยไม่มีข้อต่อสู้ถ้าจำเลยต่อสู้เช่นว่า ยังไม่ได้รับคำบอกกล่าวบังคับจำนองย่อมฟังไม่ได้ว่าจำเลยยอมรับและจำต้องเสียค่าขึ้นศาลเต็มอัตรา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันต้องทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อชัดเจน การมอบโฉนดหรือยอมรับหนี้ในฟ้องไม่ถือเป็นสัญญาค้ำประกัน
การที่จะให้จำเลยรับผิดฐานเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ได้ จะต้องปรากฎว่า จำเลยได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อ เพื่อจะชำระหนี้แทนลูกหนี้นั้นให้โจทก์จึงจะได้ เพียงแต่จำเลยได้มอบโฉนดที่ให้ลูกหนี้เอาไปค้ำประกันโจทก์หรือจำเลยฟ้องลูกหนี้ในอีกคดีหนึ่งได้บรรยายฟ้องว่าจำเลยยอมค้ำประกันลูกหนี้ต่อโจทก์เท่านี้ยังถือไม่ได้ว่าเป็นสัญญาค้ำประกัน
การที่โจทก์บรรยายฟ้องตอนหนึ่งว่า "จำเลยต้องรับผิดทั้งในทางพฤฒินัย และนิตินัย" เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีความหมายถึงข้อความในเอกสาร จ.7-จ.8 ถ้าโจทก์มุ่งจะให้หมายถึงเอกสาร จ.7-จ.8 ถ้าบรรยายเพียงเท่านี้ก็เป็นเคลือบคลุม
การที่โจทก์บรรยายฟ้องตอนหนึ่งว่า "จำเลยต้องรับผิดทั้งในทางพฤฒินัย และนิตินัย" เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีความหมายถึงข้อความในเอกสาร จ.7-จ.8 ถ้าโจทก์มุ่งจะให้หมายถึงเอกสาร จ.7-จ.8 ถ้าบรรยายเพียงเท่านี้ก็เป็นเคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันต้องทำเป็นหนังสือชัดเจน การมอบโฉนดหรือยอมรับในฟ้องยังไม่ถือเป็นสัญญาค้ำประกัน
การที่จะให้จำเลยรับผิดฐานเป็นผู้ค้ำประกันลูกหนี้ได้ จะต้องปรากฏว่า จำเลยได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อเพื่อจะชำระหนี้แทนลูกหนี้นั้นให้โจทก์จึงจะได้ เพียงแต่จำเลยได้มอบโฉนดที่ให้ลูกหนี้เอาไปค้ำประกันโจทก์หรือจำเลยฟ้องลูกหนี้ในอีกคดีหนึ่งได้บรรยายฟ้องว่าจำเลยยอมค้ำประกันลูกหนี้ต่อโจทก์เท่านี้ยังถือไม่ได้ว่าเป็นสัญญาค้ำประกัน
การที่โจทก์บรรยายฟ้องตอนหนึ่งว่า 'จำเลยต้องรับผิดทั้งในทางพฤตินัยและนิตินัย' เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีความหมายถึงข้อความในเอกสาร จ.7- จ.8 ถ้าโจทก์มุ่งจะให้หมายถึงเอกสาร จ.7- จ.8 ถ้าบรรยายเพียงเท่านี้ก็เป็นเคลือบคลุม
การที่โจทก์บรรยายฟ้องตอนหนึ่งว่า 'จำเลยต้องรับผิดทั้งในทางพฤตินัยและนิตินัย' เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีความหมายถึงข้อความในเอกสาร จ.7- จ.8 ถ้าโจทก์มุ่งจะให้หมายถึงเอกสาร จ.7- จ.8 ถ้าบรรยายเพียงเท่านี้ก็เป็นเคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 314/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าก่อนใช้ ป.พ.พ. และผลต่อสิทธิในทรัพย์สินสมรส: หนังสือหย่าที่สมบูรณ์ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย
การหย่าขาดจากกันก่อนใช้ ป.พ.พ. บรรพ 5 ต้องนำ ก.ม.ลักษณะผัวเมียบทที่ 65 มาใช้บังคับ
การที่สามีภรรยาหย่ากันก่อนใช้ ป.พ.พ.บรรพ 5 โดยทำหนังสือหย่าขึ้นเพียงฉบับเดียว มีมารดาของสามีรู้เห็นขณะทำหนังสือหย่า ทั้งมีการนำหนังสือหย่าออกแสดงต่อญาติมิตร เช่นนี้ ถือว่าเป็นการหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้ว
การที่สามีภรรยาหย่ากันก่อนใช้ ป.พ.พ.บรรพ 5 โดยทำหนังสือหย่าขึ้นเพียงฉบับเดียว มีมารดาของสามีรู้เห็นขณะทำหนังสือหย่า ทั้งมีการนำหนังสือหย่าออกแสดงต่อญาติมิตร เช่นนี้ ถือว่าเป็นการหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 314/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่ง: หนังสือหย่าที่สมบูรณ์ตามลักษณะผัวเมีย
การหย่าขาดจากกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ต้องนำกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 65 มาใช้บังคับ
การที่สามีภรรยาหย่ากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 โดยทำหนังสือหย่าขึ้นเพียงฉบับเดียว มีมารดาของสามีรู้เห็นขณะทำหนังสือหย่าทั้งมีการนำหนังสือหย่าออกแสดงต่อญาติมิตรเช่นนี้ ถือว่าเป็นการหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้ว
การที่สามีภรรยาหย่ากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 โดยทำหนังสือหย่าขึ้นเพียงฉบับเดียว มีมารดาของสามีรู้เห็นขณะทำหนังสือหย่าทั้งมีการนำหนังสือหย่าออกแสดงต่อญาติมิตรเช่นนี้ ถือว่าเป็นการหย่าขาดจากสามีภรรยากันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 311/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบกันเพื่อป้องกันการยึดทรัพย์และการเปลี่ยนแปลงข้อกฎหมายอาญา
จำเลยถูกฟ้องว่าสมคบกันทำผิด กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา308,309 แต่ปรากฏว่าขณะรับฟ้องแล้วกฎหมายลักษณะอาญาถูกยกเลิกไปตาม พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499แต่ถ้าหากการกระทำที่จำเลยถูกฟ้องอาจเป็นผิดตามประมวลกฎหมายอาญา(มาตรา350)แล้วศาลก็ชอบที่จะดำเนินการพิจารณาไปแล้วสั่งหรือพิพากษาไปตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 311/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบกันเพื่อป้องกันทรัพย์สินจากการถูกยึดตามคำพิพากษา และการเปลี่ยนแปลงบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จำเลยถูกฟ้องว่าสมคบกันทำผิด กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 308,309 แต่ปรากฎว่าขณะรับฟ้องแล้ว กฎหมายลักษณะอาญาถูกยกเลิกไป ตาม พ.ร.บ.ให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 แต่ถ้าหากการกระทำที่จำเลยถูกฟ้องอาจเป็นผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา (ม.350) แล้ว ศาลก็ชอบที่จะดำเนินการพิจารณาไป แล้วสั่งหรือพิพากษาไปตามรูปคดี