คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.อ. ม. 235

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 6 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 536/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การประดิษฐ์ยาสีฟันเลียนแบบและการมีเจตนาหลอกลวงผู้บริโภค ไม่เข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้า
การวินิฉัยปัญหาข้อกดหมายสาลดีกาจำต้องวินิฉัยการกะทำของจำเลยโดยฟังข้อเท็ดจิงตามที่สาลอุธรน์ฟังมา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 405/2484

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ องค์ประกอบความผิดฐานขายสินค้าโดยใช้ชื่อเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นโดยทุจริต จำเป็นต้องระบุเจตนาของผู้กระทำความผิดในฟ้อง
ความผิดมาตรา 138 นั้น ถเาในฟ้องของโจทก์ไม่ระบุว่าจำเลยรู้อยู่ว่าเป็นของให้ชื่อหรือเครื่องหมายในทางทุจจริตแล้ว ก็ไม่ครบองค์ความผิดฟ้องที่ลงโทษจำเลยไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 241/2484

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแก้ไขฟ้องเพิ่มเติมและการปฏิเสธของจำเลยทำให้จำเลยไม่ต้องรับผิดตามความผิดอาญา
โจทก์ขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องโดยจำเลยมิได้ขอแก้ไขเพิ่มเติมให้การ ถือว่าจำเลยปฏิเสธฟ้องเพิ่มเติมของโจทก์เมื่อโจทก์ไม่นำสืบให้สมครบองค์ความผิดตามกฎหมายแล้ว ศาลก็ยกฟ้องโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 570/2483

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของผู้พิมพ์โฆษณาที่ละเมิดลิขสิทธิ์และการใช้ดุลยพินิจกำหนดโทษ
ผู้ได้จัดการโรงพิมพ์และเป็นผู้ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานให้เป็นผู้พิมพ์โฆษณานั้น เมื่อพิมพ์หนังสือของผู้อื่นและใส่ชื่อผู้อื่นเป็นผู้พิมพ์โฆษณานั้นเป็นผิดกฎหมายอาญามาตรา 235 พรบ การพิมพ์มาตรา 15, 35, จะอ้างว่าเจ้าของโรงพิมพ์โดยคิดว่าความขอบธรรมที่จะทำได้มาเป็นข้อแก้ตัวไม่ได้ คดีที่ จำเลยไม่ได้ขอสืบพะยานเพื่อการใช้ดุลยพินิจกำหนดโทษ และคดีพอใช้ดุลยพินิจกำหนดโทษได้ แล้ว ศาลอุทธรณ์ไม่ควรให้สืบพะยานเพื่อการใช้ดุลยพินิจกำหนดโทษ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1531/2482

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขอบเขตความผิดตาม พ.ร.บ.ภาษีอากรชั้นใน ม.30: การฝ่าฝืนข้อบังคับของอธิบดีกรมพระคลังมหสมบัติ เท่านั้น
กฎข้อบังคับของตระลาการผู้พิจารณาหนังสือใบอนุญาตร้านจำหน่ายสุราลงวันที่ 1 ธันวาคม 2460 ,ประมวลวิธีพิจารณาอาญา ม.192
ม.30 แห่งพ.ร.บ.ภาษีชั้นในนั้นเป็นบทกำหนดความผิดและโทษในการฝ่าฝืนข้อบังคับของอธิบดีกรมพระคลังที่ตั้งขึ้นตาม ม.29 หาใช่เป็นบทกำหนดความผิดและโทษในการฝ่าฝืนข้อบังคับตระลาการใน ม.28 ด้วยไม่.
อ้างฎีกาที่ 647/2481

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1481/2479

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแสดงเจตนาหลอกลวงโดยอ้างเป็นสินค้าโรงเรียนเกษตรกรรม ไม่เข้าข่ายความผิดตาม ม.235 อาญา
เอาเนื้อสุกรมาขายที่ร้านของโรงเรียนเกษตรกรรมแล้วบอกผู้ซื้อว่าเป็นเนื้อสุกรของโรงเรียนนั้น ยังไม่มีผิดตาม ก.ม.อาญา ม.235