คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ม.ร.ว.ทองเพิ่ม ทองแถม

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 44 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 35/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจ่ายค่าสินไหมทดแทนประกันวินาศภัยเมื่อทรัพย์สินเสียหายหมดสิ้น และสิทธิของบุคคลภายนอกผู้รับประโยชน์
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยจะระบุไว้ว่า ในกรณีทรัพย์ที่เอาประกันภัยต้องวินาศภัย ถ้าเกิดความเห็นแตกต่างกันในจำนวนวินาศภัยหรือเสียหาย ให้ตั้งอนุญาโตตุลาการขี้ขาดเสียก่อน แต่เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น ก็หาจำต้องมีการเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อชี้ขาดจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายไม่
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัย ระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 35/2513

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ประกันวินาศภัย: สิทธิผู้รับประโยชน์เกิดมีขึ้นเมื่อแสดงเจตนา แม้มีข้อตกลงเสนออนุญาโตตุลาการก่อนฟ้องก็ไม่เป็นอุปสรรค
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยจะระบุไว้ว่า ในกรณีทรัพย์ที่เอาประกันภัยต้องวินาศภัย ถ้าเกิดความเห็นแตกต่างกันในจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายให้ตั้งอนุญาโตตุลาการชี้ขาดเสียก่อน แต่เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น ก็หาจำต้องมีการเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อชี้ขาดจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายไม่
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัยระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 375

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอเลื่อนคดี การแต่งตั้งทนาย และการพิจารณาคดี การที่โจทก์หาทนายใหม่หลังถอนทนายเดิม และเหตุจำเป็นในการเลื่อนคดี
หลังจากโจทก์ถอนทนายเดิมแล้ว 20วัน ได้มีการยื่นใบแต่งทนายใหม่ในวันนัดสืบพยานโจทก์ วันที่ยื่นใบแต่งทนายเป็นแต่เพียงการแสดงต่อศาลว่าขอแต่งตั้งทนายให้เป็นผู้ว่าความ มิได้หมายความว่าโจทก์เพิ่งไปหาทนายในเช้าวันนัด อันจะถือว่าโจทก์ไม่นำพาต่อคดีของตน
เมื่อโจทก์หาทนายได้แล้ว แต่บังเอิญทนายติดว่าความในคดีอื่นซึ่งนัดไว้ก่อน ย่อมเป็นกรณีที่มีความจำเป็นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้ กรณีที่ทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีเป็นครั้งแรก แม้โจทก์จะยังมิได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้ แต่ตามพฤติการณ์แห่งคดีไม่มีเหตุที่จะแสดงว่าโจทก์แกล้งประวิงคดี และประกอบกันเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะอนุญาตให้เลื่อนคดีไปได้
โจทก์ตั้งทนายโดยทำเป็นหนังสือลงลายมือโจทก์และทนายโจทก์ แล้วยื่นต่อศาล โดยให้ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ให้มายื่นคำร้องของเลื่อนคดียื่นใบแต่งทนายพร้อมคำร้องนั้น และศาลได้สั่งใบแต่งทนายรวมไว้ในสำนวนแล้ว ย่อมถือได้ว่า ทนายซึ่งโจทก์ตั้ง เป็นทนายของโจทก์แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลื่อนคดีและการแต่งตั้งทนาย: ศาลต้องพิจารณาเหตุผลความจำเป็นและประโยชน์แห่งความยุติธรรม
หลังจากโจทก์ถอนทนายเดิมแล้ว 20 วัน ได้มีการยื่นใบแต่งทนายใหม่ในวันนัดสืบพยานโจทก์. วันที่ยื่นใบแต่งทนายเป็นแต่เพียงการแสดงต่อศาลว่าขอแต่งตั้งทนายให้เป็นผู้ว่าความ. มิได้หมายความว่า.โจทก์เพิ่งไปหาทนายในเช้าวันนัด. อันจะถือว่าโจทก์ไม่นำพาต่อคดีของตน.
เมื่อโจทก์หาทนายได้แล้ว แต่บังเอิญทนายติดว่าความในคดีอื่นซึ่งนัดไว้ก่อน. ย่อมเป็นกรณีที่มีความจำเป็นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้. กรณีที่ทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีเป็นครั้งแรก แม้โจทก์จะยังมิได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้.แต่ตามพฤติการณ์แห่งคดีไม่มีเหตุที่จะแสดงว่าโจทก์แกล้งประวิงคดี. และประกอบกับเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะอนุญาตให้เลื่อนคดีไปได้.
โจทก์ตั้งทนายโดยทำเป็นหนังสือลงลายมือโจทก์และทนายโจทก์แล้วยื่นต่อศาล. โดยให้ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ให้มายื่นคำร้องขอเลื่อนคดียื่นใบแต่งทนายพร้อมคำร้องนั้น. และศาลได้สั่งใบแต่งทนายรวมไว้ในสำนวนแล้ว. ย่อมถือได้ว่าทนายซึ่งโจทก์ตั้ง เป็นทนายของโจทก์แล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลื่อนคดีและการแต่งตั้งทนาย: ศาลพิจารณาเหตุสมควรและรูปแบบการแต่งตั้งทนายที่ถูกต้อง
หลังจากโจทก์ถอนทนายเดิมแล้ว 20 วัน ได้มีการยื่นใบแต่งทนายใหม่ในวันนัดสืบพยานโจทก์ วันที่ยื่นใบแต่งทนายเป็นแต่เพียงการแสดงต่อศาลว่าขอแต่งตั้งทนายให้เป็นผู้ว่าความ มิได้หมายความว่า โจทก์เพิ่งไปหาทนายในเช้าวันนัด อันจะถือว่าโจทก์ไม่นำพาต่อคดีของตน
เมื่อโจทก์หาทนายได้แล้ว แต่บังเอิญทนายติดว่าความในคดีอื่นซึ่งนัดไว้ก่อน ย่อมเป็นกรณีที่มีความจำเป็นอันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้ กรณีที่ทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีเป็นครั้งแรก แม้โจทก์จะยังมิได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้ แต่ตามพฤติการณ์แห่งคดีไม่มีเหตุที่จะแสดงว่าโจทก์แกล้งประวิงคดี และประกอบกับเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีเหตุสมควรที่ศาลจะอนุญาตให้เลื่อนคดีไปได้
โจทก์ตั้งทนายโดยทำเป็นหนังสือลงลายมือโจทก์และทนายโจทก์แล้วยื่นต่อศาล โดยให้ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ให้มายื่นคำร้องขอเลื่อนคดียื่นใบแต่งทนายพร้อมคำร้องนั้น และศาลได้สั่งใบแต่งทนายรวมไว้ในสำนวนแล้ว ย่อมถือได้ว่าทนายซึ่งโจทก์ตั้ง เป็นทนายของโจทก์แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1891/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลควบคุมการพิจารณาคดีและการอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา
คำสั่งของศาลที่ให้สืบตัวจำเลยในฐานะเป็นพยานของโจทก์และจำเลยพร้อมกัน หลังจากที่โจทก์นำสืบพยานโจทก์คนอื่นๆหมดแล้วนั้น หาใช่คำสั่งที่ไม่ให้โจทก์อ้างจำเลยเป็นพยานไม่ แต่เป็นคำสั่งที่ศาลใช้ดุลพินิจสั่งตามหน้าที่ที่เป็นผู้ควบคุมการพิจารณาคดีให้รวดเร็วและเที่ยงธรรม เป็นคำสั่งที่ชอบแล้ว
การอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณาซึ่งทำพร้อมกับการอุทธรณ์คำพิพากษา ชอบที่จะทำรวมกันมาในคำฟ้องอุทธรณ์หรือในคำแก้อุทธรณ์ฉบับเดียวกันแล้วแต่กรณี ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยปัญหาทั้งหมดนั้นรวมในคำพิพากษาฉบับเดียวกันได้ไม่ขัดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 239 เพราะมาตรานี้ใช้สำหรับกรณีที่อุทธรณ์คำสั่ง โดยที่ศาลชั้นต้นยังมิได้ชี้ขาดตัดสินคดีแล้วเท่านั้น
การที่คู่ความไม่เห็นด้วยกับคำสั่งของศาลในเรื่องลำดับของการนำพยานเข้าสืบ จึงแถลงว่าไม่สืบพยานเช่นนี้ไม่ใช่กรณีที่ศาลปฏิเสธไม่สืบพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(2)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1890/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิการยึดที่ดินของเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาในที่ดินที่มีผู้ซื้อรายอื่นยังไม่ได้จดทะเบียน
คำสั่งของศาลที่ได้สืบตัวจำเลยในฐานะเป็นพยานของโจทก์และจำเลยพร้อมกัน หลังจากที่โจทก์นำสืบพยานโจทก์คนอื่น ๆ หมดแล้วนั้น หาใช่คำสั่งที่ไม่ให้โจทก์อ้างจำเลยเป็นพยานไม่ แต่เป็นคำสั่งใช้ดุลพินิจสั่งตามหน้าที่ที่เป็นผู้ควบคุมการพิจารณาคดีให้รวดเร็วและเที่ยงธรรม เป็นคำสั่งที่ชอบแล้ว
การอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณาซึ่งทำพร้อมกับการอุทธรณ์คำพิพากษา ชอบที่จะทำรวมกันมาในคำฟ้องอุทธรณ์หรือในคำแก้อุทธรณ์ฉบับเดียวกันแล้วแต่กรณี ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะวินิจฉัยปัญหาทั้งหมดนั้นรวมในคำพิพากษาฉบับเดียวกันได้ ไม่ขัดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 234 เพราะมาตรานี้ใช้สำหรับกรณีที่อุทธรณ์คำสั่ง โดยที่ศาลชั้นต้นได้ชี้ขาดตัดสินคดีแล้ว เท่านั้น
การที่คู่ความไม่เห็นด้วยกับคำสั่งของศาลในเรื่องลำดับของการนำพยานเข้าสืบ จึงแถลงว่าไม่สืบพยานเช่นนี้ ไม่ใช่กรณีที่ศาลปฏิเสธไม่สืบพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(2)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1860/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องคดีซ้ำ ห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 36 แม้ยังไม่ได้ไต่สวนมูลฟ้อง
โจทก์เคยฟ้องจำเลยต่อศาลในข้อหาเดียวกัน บทมาตราที่ขอให้ลงโทษก็เช่นเดียวกัน โดยอาศัยหนังสือของจำเลยฉบับเดียวกันเป็นมูลฟ้องร้อง และโจทก์ได้ถอนฟ้องคดีนั้นไปจากศาลแล้ว โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยอีกหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 36
หนังสือที่จำเลยกล่าวหาโจทก์ฉบับเดียว แต่บรรยายการกระทำของโจทก์เป็น 3 ข้อ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการกระทำเพียงครั้งเดียวและกรรมเดียว มิใช่ต่างกรรมต่างวาระ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องจำเลยเพียงครั้งเดียว จะแบ่งฟ้องเป็นข้อเป็นตอนไม่ได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 908/2496)
แม้จะเป็นการถอนฟ้องที่ยังไม่ได้มีการไต่สวนมูลฟ้องก็ตาม ก็อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะนำมาฟ้องใหม่อีกไม่ได้ เพราะถือว่าได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลแล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1860/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องคดีซ้ำ: การถอนฟ้องก่อนไต่สวนมูลฟ้องทำให้ไม่สามารถฟ้องคดีเดิมได้อีก และการกระทำที่เป็นกรรมเดียวไม่ถือเป็นต่างกรรมต่างวาระ
โจทก์เคยฟ้องจำเลยต่อศาลในข้อหาเดียวกัน. บทมาตราที่ขอให้ลงโทษก็เช่นเดียวกันโดยอาศัยหนังสือของจำเลยฉบับเดียวกันเป็นมูลฟ้องร้อง. และโจทก์ได้ถอนฟ้องคดีนั้นไปจากศาลแล้ว. โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยอีกหาได้ไม่.ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 36.
หนังสือที่จำเลยกล่าวหาโจทก์ฉบับเดียว แต่บรรยายการกระทำของโจทก์เป็น 3 ข้อ. การกระทำของจำเลยจึงเป็นการกระทำเพียงครั้งเดียวและกรรมเดียว มิใช่ต่างกรรมต่างวาระ.โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องจำเลยเพียงครั้งเดียว จะแบ่งฟ้องเป็นข้อเป็นตอนไม่ได้.(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 908/2496).
แม้จะเป็นการถอนฟ้องที่ยังไม่ได้มีการไต่สวนมูลฟ้องก็ตาม. ก็อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะนำมาฟ้องใหม่อีกไม่ได้. เพราะถือว่าได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลแล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1860/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องซ้ำในคดีอาญา และหลักการกรรมเดียว ความผิดเดียว แม้ถอนฟ้องก่อนไต่สวนมูลฟ้องก็ฟ้องซ้ำไม่ได้
โจทก์เคยฟ้องจำเลยต่อศาลในข้อหาเดียวกัน บทมาตราที่ขอให้ลงโทษก็เช่นเดียวกันโดยอาศัยหนังสือของจำเลยฉบับเดียวกันเป็นมูลฟ้องร้อง และโจทก์ได้ถอนฟ้องคดีนั้นไปจากศาลแล้ว โจทก์จะนำคดีมาฟ้องจำเลยอีกหาได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 36
หนังสือที่จำเลยกล่าวหาโจทก์ฉบับเดียว แต่บรรยายการกระทำของโจทก์เป็น 3 ข้อ การกระทำของจำเลยจึงเป็นการกระทำเพียงครั้งเดียวและกรรมเดียว มิใช่ต่างกรรมต่างวาระ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องจำเลยเพียงครั้งเดียว จะแบ่งฟ้องเป็นข้อเป็นตอนไม่ได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 908/2496)
แม้จะเป็นการถอนฟ้องที่ยังไม่ได้มีการไต่สวนมูลฟ้องก็ตาม ก็อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะนำมาฟ้องใหม่อีกไม่ได้ เพราะถือว่าได้มีการฟ้องคดีอาญาต่อศาลแล้ว
of 5