พบผลลัพธ์ทั้งหมด 21 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาฐานไม่เข็ดหลาบต้องกระทำหลังจำเลยมีทนาย และการรับสารภาพก่อนมีทนายยังใช้ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 ให้จำคุก 5 ปี และเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 93 กึ่งหนึ่ง รวมเป็นโทษจำคุก 7 ปี 6 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่เพิ่มโทษตามมาตรา 93 คงจำคุกเพียง 5 ปี เช่นนี้ ถือได้ว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ทั้งบทและโทษ เป็นการแก้ไขมาก จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 872/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาฐานไม่เข็ดหลาบ: จำเลยให้การรับสารภาพก่อนมีทนาย ไม่กระทบคำรับ หากโจทก์มิได้สืบพยานยืนยัน
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 ให้จำคุก 5 ปี และเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 93กึ่งหนึ่ง รวมเป็นโทษจำคุก 7 ปี 6 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่าไม่เพิ่มโทษตามมาตรา 93 คงจำคุกเพียง 5 ปี เช่นนี้ถือได้ว่าศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ทั้งบทและโทษ เป็นการแก้ไขมาก จึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173 บัญญัติขึ้นเพื่อให้จำเลยมีทนายต่อสู้ในคดีอุกฉกรรจ์ที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ไม่ได้หมายความรวมถึงโทษที่จำเลยจะพึงได้รับจากการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบด้วย ฉะนั้น แม้จำเลยจะให้การรับในข้อเคยต้องโทษก่อนตั้งทนาย คำรับก็ไม่เสียไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1006/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบหลังพ.ร.บ.ล้างมลทิน: ศาลฎีกาแก้โทษจำคุกเหลือตามเดิม
ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษก่อน 8 พ.ย. 2499 และพ้นโทษไปแล้วก่อนวันที่ พ.ร.บ.ล้างมลทินในโอกาศครบ25พุทธศตวรรษ พ.ศ.2499 ใช้บังคับ (13 พ.ค. 2500) ดังนี้ ถือว่าผู้นั้นมิได้เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำผิดในคดีนั้นคดีมีฎีกาและศาลฎีกาพิพากษาหลังวันที่ 13 พ.ค.2500ศาลฎีกาย่อมพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลล่างว่าจะเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1150/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดโทษพยายามฆ่าและการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ ศาลต้องกำหนดโทษสำเร็จก่อนลดฐานพยายาม และเพิ่มโทษทีหลังห้ามหักกลบลบกัน
ความผิดฐานพยายามฆ่าคนตายนั้น ศาลต้องกำหนดโทษจำเลยอย่างกระทำผิดสำเร็จก่อนแล้วจึงลดฐานพยายามตาม ก.ม.อาญา ม.60 เมื่อมีเหตุจะต้องเพิ่มโทษจำเลยจึงให้เพิ่มทีหลัง จะเอาเหตุเพิ่มโทษมาหักกลบลบกับโทษฐานพยายามไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1247/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษอาญา: หักกลบลบกันเมื่อมีอัตราเท่ากัน แม้มีโทษฐานไม่เข็ดหลาบ
เมื่อโทษที่จะเพิ่มและจะลดมีกำหนด (กึ่งหนึ่ง) เท่ากันศาลต้องให้หักกลบลบกัน ไม่ต้องเพิ่มไม่ต้องลด
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
แม้ มาตรา 293 จะกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงไว้ไม่เกิน 5 ปีแต่เมื่อมีการเพิ่มโทษ ผู้นั้นก็ยังต้องถูกเพิ่มโทษอีกโสดหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1201-1203/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงจากการระดมทุนลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูงเกินจริง และการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ
จำเลยตั้งสำนักงานขึ้นให้ชื่อว่าบริษัทชัยวัฒนา มีวัตถุประสงค์ทำการค้าและชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากเป็นการเข้าหุ้น แต่การเข้าหุ้นนี้จำเลยคิดผลประโยชน์ให้ร้อยละ 50 ต่อเดือนเป็นรายเดือน มีประชาชนหลายจังหวัดนำเงินมามอบให้จำเลยเป็นจำนวนมากมายหลายสิบล้านบาทเพราะหวังประโยชน์ตอบแทนอันสูง ดังนี้เมื่อคำนวณอัตราผลประโยชน์ร้อยละ 50 ต่อเดือนที่จำเลยคิดให้แล้วในต้นเงินเพียง100 บาท ถ้าฝากจำเลยสมทบทั้งต้นและผลประโยชน์ ในปีหนึ่งจำเลยจะต้องจ่ายเป็นเงินหนึ่งหมื่นเศษ ถ้าถึงปีที่ 2 ก็เป็นจำนวนเกินล้านบาท ซึ่งเป็นที่เห็นได้ชัดว่าจำเลยจะไปหาผลกำไรจากที่ไหนมาจ่ายให้ได้ แม้จำเลยเองก็ว่าหุ้นส่วนมีกำไรเท่าใดไม่อาจรู้ได้ แต่กระนั้นจำเลยก็ยังคงจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ฝากไปได้ เหตุที่จำเลยจ่ายเงินปันผลทั้งๆ ที่ไม่รู้ว่ามีกำไรเท่าใดนั้น ย่อมประกอบให้เห็นเจตนาจำเลยในการลวงให้เขาหลงเชื่อโดยแท้การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้อุบายเป็นทำนองว่าตนทำการค้าใหญ่โตให้เขานำเงินมาฝากเข้าเป็นหุ้นส่วน โดยสัญญาจะจ่ายเงินปันผลให้ร้อยละ 50 ต่อเดือนทั้งๆ ที่ตนเองก็รู้ดีว่าไม่สามารถจะจ่ายให้เขาได้จึงนับว่าเป็นความเท็จและคนหลงเชื่อนำเงินมาฝากมากมายเช่นนี้ย่อมเข้าเกณฑ์ความผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 304 และการกระทำดังกล่าวไม่เป็นความผิดตาม พระราชบัญญัติธนาคารพานิชย์ เพราะไม่ใช่ทำการเป็นธนาคารพานิชย์ และไม่มีสภาพคล้ายคลึงกับกิจการธนาคารตาม พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุขแห่งสาธารณะชน พ.ศ.2471 มาตรา 7
โจทก์กล่าวฟ้องว่าก่อนคดีนี้จำเลยที่ 1 เคยต้องโทษฐานไม่ทำบัญชีแสดงรายการรับและจำหน่ายน้ำตาลมาครั้งหนึ่ง ศาลพิพากษาปรับ 50 บาท ดังปรากฏในคดีแดงที่ 178/2489 พ้นโทษยังไม่เกิน 5 ปีจำเลยแถลงรับว่าเคยต้องโทษจริงตามฟ้อง แล้วโจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องว่าความผิดฐานไม่ทำบัญชีซึ่งจำเลยเคยต้องโทษนั้นเป็นความผิด ซึ่งไม่ใช่เป็นส่วนลหุโทษ และมิใช่ความผิดที่เกิดขึ้นด้วยประมาท ศาลสอบจำเลย จำเลยไม่คัดค้านศาลอนุญาตและปรากฏว่าในสำนวนเลขแดงที่ 178/2489 ศาลพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีการซื้อน้ำตาล มาตรา 26 ที่บัญญัติให้มีโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน2 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งมิใช่ความผิดฐานลหุโทษดังนี้แม้ในฟ้องจะมิได้ระบุว่าโทษครั้งก่อนเนื่องจากความผิดต่อ กฎหมาย ใดเลยก็เพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบตามกฎหมายอาญา มาตรา 72 ตามฟ้องของโจทก์ได้
ถ้าคดีมีปัญหาแต่เฉพาะข้อกฎหมาย ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย นั้นศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวน
โจทก์กล่าวฟ้องว่าก่อนคดีนี้จำเลยที่ 1 เคยต้องโทษฐานไม่ทำบัญชีแสดงรายการรับและจำหน่ายน้ำตาลมาครั้งหนึ่ง ศาลพิพากษาปรับ 50 บาท ดังปรากฏในคดีแดงที่ 178/2489 พ้นโทษยังไม่เกิน 5 ปีจำเลยแถลงรับว่าเคยต้องโทษจริงตามฟ้อง แล้วโจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องว่าความผิดฐานไม่ทำบัญชีซึ่งจำเลยเคยต้องโทษนั้นเป็นความผิด ซึ่งไม่ใช่เป็นส่วนลหุโทษ และมิใช่ความผิดที่เกิดขึ้นด้วยประมาท ศาลสอบจำเลย จำเลยไม่คัดค้านศาลอนุญาตและปรากฏว่าในสำนวนเลขแดงที่ 178/2489 ศาลพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีการซื้อน้ำตาล มาตรา 26 ที่บัญญัติให้มีโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน2 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งมิใช่ความผิดฐานลหุโทษดังนี้แม้ในฟ้องจะมิได้ระบุว่าโทษครั้งก่อนเนื่องจากความผิดต่อ กฎหมาย ใดเลยก็เพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบตามกฎหมายอาญา มาตรา 72 ตามฟ้องของโจทก์ได้
ถ้าคดีมีปัญหาแต่เฉพาะข้อกฎหมาย ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย นั้นศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1201-1203/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงลงทุน-ผลตอบแทนสูงเกินจริง-เพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ
จำเลยตั้งสำนักงานขึ้นให้ชื่อว่าบริษัทชัยวัฒนา มีวัตถุประสงค์ทำการค้าและชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากเป็นการเข้าหุ้น แต่การเข้าหุ้นนี้จำเลยคิดผลประโยชน์ให้ร้อยละ 50 ต่อเดือนเป็นรายเดือน มีประชาชนหลายจังหวัดนำเงินมามอบให้จำเลยเป็นจำนวนมากมายหลายสิบล้านบาทเพราะหวังประโยชน์ตอบแทนอันสูง ดังนี้เมื่อคำนวณอัตราผลประโยชน์ร้อยละ 50 ต่อเดือนที่จำเลยคิดให้แล้วในต้นเงินเพียง100 บาท ถ้าฝากจำเลยสมทบทั้งต้นและผลประโยชน์ ในปีหนึ่งจำเลยจะต้องจ่ายเป็นเงินหนึ่งหมื่นเศษ ถ้าถึงปีที่ 2 ก็เป็นจำนวนเกินล้านบาท ซึ่งเป็นที่เห็นได้ชัดว่าจำเลยจะไปหาผลกำไรจากที่ไหนมาจ่ายให้ได้ แม้จำเลยเองก็ว่าหุ้นส่วนมีกำไรเท่าใดไม่อาจรู้ได้ แต่กระนั้นจำเลยก็ยังคงจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ฝากไปได้ เหตุที่จำเลยจ่ายเงินปันผลทั้งๆ ที่ไม่รู้ว่ามีกำไรเท่าใดนั้น ย่อมประกอบให้เห็นเจตนาจำเลยในการลวงให้เขาหลงเชื่อโดยแท้การกระทำของจำเลยจึงเป็นการใช้อุบายเป็นทำนองว่าตนทำการค้าใหญ่โตให้เขานำเงินมาฝากเข้าเป็นหุ้นส่วน โดยสัญญาจะจ่ายเงินปันผลให้ร้อยละ 50 ต่อเดือนทั้งๆ ที่ตนเองก็รู้ดีว่าไม่สามารถจะจ่ายให้เขาได้จึงนับว่าเป็นความเท็จและคนหลงเชื่อนำเงินมาฝากมากมายเช่นนี้ย่อมเข้าเกณฑ์ความผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 304 และการกระทำดังกล่าวไม่เป็นความผิดตาม พระราชบัญญัติธนาคารพานิชย์ เพราะไม่ใช่ทำการเป็นธนาคารพานิชย์ และไม่มีสภาพคล้ายคลึงกับกิจการธนาคารตาม พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือผาสุขแห่งสาธารณะชน พ.ศ.2471 มาตรา 7
โจทก์กล่าวฟ้องว่าก่อนคดีนี้จำเลยที่ 1 เคยต้องโทษฐานไม่ทำบัญชีแสดงรายการรับและจำหน่ายน้ำตาลมาครั้งหนึ่ง ศาลพิพากษาปรับ 50 บาท ดังปรากฏในคดีแดงที่ 178/2489 พ้นโทษยังไม่เกิน 5 ปีจำเลยแถลงรับว่าเคยต้องโทษจริงตามฟ้อง แล้วโจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องว่าความผิดฐานไม่ทำบัญชีซึ่งจำเลยเคยต้องโทษนั้นเป็นความผิด ซึ่งไม่ใช่เป็นส่วนลหุโทษ และมิใช่ความผิดที่เกิดขึ้นด้วยประมาท ศาลสอบจำเลย จำเลยไม่คัดค้านศาลอนุญาตและปรากฏว่าในสำนวนเลขแดงที่ 178/2489 ศาลพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีการซื้อน้ำตาล มาตรา 26 ที่บัญญัติให้มีโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน2 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งมิใช่ความผิดฐานลหุโทษดังนี้แม้ในฟ้องจะมิได้ระบุว่าโทษครั้งก่อนเนื่องจากความผิดต่อ กฎหมาย ใดเลยก็เพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบตามกฎหมายอาญา มาตรา 72 ตามฟ้องของโจทก์ได้
ถ้าคดีมีปัญหาแต่เฉพาะข้อกฎหมาย ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย นั้นศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวน
โจทก์กล่าวฟ้องว่าก่อนคดีนี้จำเลยที่ 1 เคยต้องโทษฐานไม่ทำบัญชีแสดงรายการรับและจำหน่ายน้ำตาลมาครั้งหนึ่ง ศาลพิพากษาปรับ 50 บาท ดังปรากฏในคดีแดงที่ 178/2489 พ้นโทษยังไม่เกิน 5 ปีจำเลยแถลงรับว่าเคยต้องโทษจริงตามฟ้อง แล้วโจทก์ขอเพิ่มเติมฟ้องว่าความผิดฐานไม่ทำบัญชีซึ่งจำเลยเคยต้องโทษนั้นเป็นความผิด ซึ่งไม่ใช่เป็นส่วนลหุโทษ และมิใช่ความผิดที่เกิดขึ้นด้วยประมาท ศาลสอบจำเลย จำเลยไม่คัดค้านศาลอนุญาตและปรากฏว่าในสำนวนเลขแดงที่ 178/2489 ศาลพิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีการซื้อน้ำตาล มาตรา 26 ที่บัญญัติให้มีโทษปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน2 ปีหรือทั้งจำทั้งปรับ ซึ่งมิใช่ความผิดฐานลหุโทษดังนี้แม้ในฟ้องจะมิได้ระบุว่าโทษครั้งก่อนเนื่องจากความผิดต่อ กฎหมาย ใดเลยก็เพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบตามกฎหมายอาญา มาตรา 72 ตามฟ้องของโจทก์ได้
ถ้าคดีมีปัญหาแต่เฉพาะข้อกฎหมาย ในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย นั้นศาลฎีกาจะต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกโทษจำคุกที่รอการลงอาญาและการเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ ต้องมีโทษจำคุกจริงและพ้นโทษคดีก่อน
การที่ศาลวางโทษจำคุกจำเลยแต่ให้ยกโทษจำคุกเสียคงปรับสถานเดียวไม่เรียกว่าลงโทษจำคุกจำเลยดังนี้ จึงยกโทษจำคุกที่เคยรอการลงอาญาไว้มาลงแก่จำเลยไม่ได้ และเมื่อปรากฎว่าจำเลยยังอยู่ในระหว่างรอการลงอาญายังเรียกไม่ได้ว่าพ้นโทษมาแล้ว จึงเพิ่มโทษจำเลยฐานไม่เข็ดหลาบตามมาตรา 32 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 870/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ ต้องพิจารณาโทษของความผิดฐานลหุโทษที่เคยกระทำ หากโทษสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด จะไม่สามารถเพิ่มโทษได้
ความผิดที่จะสงเคราะห์เป็นลหุโทษ อันจะเพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบไม่ได้นั้น ต้องเป็นความผิดที่มีระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 100 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1436/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาจากประวัติเคยต้องโทษ – ไม่เข็ดหลาบ ตามมาตรา 73
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์และขอให้เพิ่มโทษฐานไม่เข็ดหลาบ โดยบรรยายฟ้องว่าจำเลยเคยต้องโทษฐานรับของโจรมาแล้ว 2 ครั้ง แต่ละครั้งมีกำหนดจำคุกเกินกว่า 6 เดือน ดังปรากฏตามใบแดงแจ้งโทษท้ายฟ้อง พ้นโทษครั้งสุดท้ายมากระทำความผิดในคดีนี้อีกภายใน 5 ปีไม่เข็ดหลาบ ขอให้ลงโทษและเพิ่มโทษตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา 74
จำเลยให้การรับว่า เคยต้องโทษมาหลายครั้งตามใบแดงแจ้งโทษท้ายฟ้อง และพ้นโทษครั้งสุดท้ายมายังไม่เกิน 5 ปีจริงดังฟ้องโจทก์ ดังนี้เมื่อปรากฏว่า ตามใบแดงแจ้งโทษจำเลยเคยต้องโทษมา 5 ครั้ง ครั้งที่ 5 ต้องโทษฐานรับของโจรจำคุก 8 เดือนพ้นโทษมายังไม่เกิน 3 ปี ก็มากระทำผิดคดีนี้อีก ก็ต้องฟังว่าคำรับของจำเลยแปลความได้ว่ารับรวมทั้งวันพ้นโทษตามใบแดงแจ้งโทษด้วย จึงเพิ่มโทษจำเลยตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 73 ได้
จำเลยให้การรับว่า เคยต้องโทษมาหลายครั้งตามใบแดงแจ้งโทษท้ายฟ้อง และพ้นโทษครั้งสุดท้ายมายังไม่เกิน 5 ปีจริงดังฟ้องโจทก์ ดังนี้เมื่อปรากฏว่า ตามใบแดงแจ้งโทษจำเลยเคยต้องโทษมา 5 ครั้ง ครั้งที่ 5 ต้องโทษฐานรับของโจรจำคุก 8 เดือนพ้นโทษมายังไม่เกิน 3 ปี ก็มากระทำผิดคดีนี้อีก ก็ต้องฟังว่าคำรับของจำเลยแปลความได้ว่ารับรวมทั้งวันพ้นโทษตามใบแดงแจ้งโทษด้วย จึงเพิ่มโทษจำเลยตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 73 ได้