พบผลลัพธ์ทั้งหมด 206 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3052/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้และนิติกรรมอำพราง: การนำสืบราคาขายฝากเพื่อแสดงที่มาของหนี้ไม่ขัดต่อกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
โจทก์ฟ้องให้จำเลยชำระหนี้ตามสัญญากู้ จำเลยอ้างสัญญาขายฝากซึ่งกำหนดราคาขายฝากไว้ 120,000 บาท เป็นพยาน โจทก์นำสืบว่าราคาขายฝากตามสัญญาขายฝากดังกล่าวตกลงกันไว้ 100,000 บาท เพื่อเป็นข้อแสดงให้เห็นถึงที่มาแห่งมูลหนี้ตามสัญญากู้ที่โจทก์ฟ้องว่ามีความเป็นมาอย่างไร ไม่ใช่การนำสืบเพื่อบังคับหรือไม่บังคับตามสัญญาขายฝากการนำสืบเช่นนี้จึงมิใช่กรณีที่จะอยู่ในบังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3052/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้และนิติกรรมอำพราง: การนำสืบราคาขายฝากเพื่อแสดงที่มาของหนี้ไม่ขัดมาตรา 94
โจทก์ฟ้องให้จำเลยชำระหนี้ตามสัญญากู้ จำเลยอ้างสัญญาขายฝากซึ่งกำหนดราคาขายฝากไว้ 120,000 บาท เป็นพยาน โจทก์นำสืบว่าราคาขายฝากตามสัญญาขายฝากดังกล่าวตกลงกันไว้100,000 บาทเพื่อเป็นข้อแสดงให้เห็นถึงที่มาแห่งมูลหนี้ตามสัญญากู้ที่โจทก์ฟ้องว่ามีความเป็นมาอย่างไร ไม่ใช่การนำสืบเพื่อบังคับ หรือไม่บังคับตามสัญญาขายฝาก การนำสืบเช่นนี้จึงมิใช่กรณีที่จะอยู่ในบังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2802/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาขายฝากโดยสมัครใจ ไม่ใช่นิติกรรมอำพรางสัญญาจำนอง แม้ดอกเบี้ยเกินกว่ากฎหมายกำหนด
เดิมโจทก์มีเจตนาจะทำสัญญาจำนอง แต่เมื่อจำเลยไม่ตกลงด้วย และให้ทำสัญญาขายฝาก โจทก์ก็ตกลงยินยอม เช่นนี้ ถือว่าโจทก์ทำสัญญาขายฝากโดยความสมัครใจเอง มิใช่เกิดจากเจตนาลวง และมิใช่นิติกรรมอำพรางสัญญาจำนอง แม้จำเลยจะคิดผลประโยชน์ในการรับซื้อฝากโดยเรียกเท่ากับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1 บาท 75 สตางค์ต่อเดือน เป็นอัตราเกินกว่ากฎหมายกำหนดในการเรียกดอกเบี้ยก็ตาม แต่เมื่อนำผลประโยชน์ที่เรียกมารวมกับเงินค่ารับซื้อฝากที่จำเลยให้โจทก์ไปแล้วย่อมกลายเป็นสินไถ่ซึ่งในสัญญาขายฝาก คู่สัญญาจะกำหนดสินไถ่โดยเรียกผลประโยชน์รวมไปกับเงินต้นเท่าใดก็ได้ โดย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 499 อนุญาตไว้ และคู่สัญญาย่อมตกลงผ่อนชำระสินไถ่กันได้ การผ่อนชำระเงินต้นของโจทก์ย่อมมีผลเท่ากับผ่อนชำระสินไถ่บางส่วนนั่นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาลวงและนิติกรรมอำพราง: ต้องมีสมรู้ร่วมใจกันและมีเจตนาซ่อนเร้นที่แท้จริง
การแสดงเจตนาลวงที่จะตกเป็นโมฆะ จะต้องเป็นการแสดงเจตนาที่ทำขึ้นโดยความประสงค์ร่วมกันของคู่กรณีทั้งสองฝ่ายที่จะไม่ให้ผูกพันกัน หรืออีกนัยหนึ่ง จะต้องปรากฏว่ามีการสมรู้กันระหว่างคู่กรณีในการแสดงเจตนาลวงนั้น
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่งเพื่อปกติหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่งเพื่อปกติหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาลวงและนิติกรรมอำพราง: ต้องมีสมรู้ร่วมใจและเจตนาปกปิดนิติกรรมที่แท้จริง
การแสดงเจตนาลวงที่จะตกเป็นโมฆะ จะต้องเป็นการแสดงเจตนาที่ทำขึ้นโดยความประสงค์ร่วมกันของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย ที่จะไม่ให้ผูกพันกัน หรืออีกนัยหนึ่ง จะต้องปรากฏว่ามีการสมรู้กันระหว่างคู่กรณีในการแสดงเจตนาลวงนั้น
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่ง เพื่อปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่ง เพื่อปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 700/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพรางสัญญาซื้อขายเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดการเดินรถ สัญญาเช่าซื้อยังคงมีผลบังคับ
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์บรรทุกมาจากจำเลยที่ 1 เพื่อนำไปเข้าร่วมเดินรถกับบริษัทสหรถเมล์เล็กธนบุรี จำกัด ผู้ได้รับอนุญาตให้เดินรถประจำทาง ตามระเบียบของกระทรวงคมนาคม บริษัทฯ จะต้องมีรถของตนเอง ถ้าจะนำรถของผู้อื่นมาร่วมจะต้องโอนทะเบียนรถให้เป็นของบริษัทฯ เสียก่อน โจทก์จึงขอให้จำเลยที่ 1 ทำสัญญาซื้อขายรถให้โจทก์ เพื่อโจทก์จะได้นำสัญญาซื้อชายไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้เป็นของบริษัทฯ การทำสัญญาซื้อขายระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ก็เพื่อช่วยเหลือโจทก์ให้นำรถยนต์ที่โจทก์เช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 เข้าร่วมในกิจการเดินรถของบริษัทฯ ได้เท่านั้น คู่สัญญาไม่มีเจตนาผูกพันกันตามสัญญาซื้อขาย แต่มีเจตนาผูกพันกันตามสัญญาเช่าซื้อ สัญญาซื้อขายเป็นแต่เพียงการแสดงเจตนาลวงและเป็นนิติกรรมอำพราง จึงไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 เมื่อโจทก์ค้างชำระค่าเช่าซื้อหลายงวดติดต่อกัน จำเลยที่ 1 ก็มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อ และยึดรถกลับคืนได้ ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
เอกสารซึ่งเป็นพยานหลักฐานอันสำคัญในคดี แม้จำเลยจะไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้โจทก์ ศาลก็มีอำนาจรับฟังได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87 (2)
เอกสารซึ่งเป็นพยานหลักฐานอันสำคัญในคดี แม้จำเลยจะไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้โจทก์ ศาลก็มีอำนาจรับฟังได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 700/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพรางสัญญาซื้อขายเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัดการเช่าซื้อรถยนต์ ศาลวินิจฉัยสัญญาสิ้นผล
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์บรรทุกมาจากจำเลยที่ 1 เพื่อนำไปเข้าร่วมเดินรถกับบริษัทสหรถเมล์เล็กธนบุรี จำกัด ผู้ได้รับอนุญาตให้เดินรถประจำทาง ตามระเบียบของกระทรวงคมนาคม บริษัทฯ จะต้องมีรถของตนเอง ถ้าจะนำรถของผู้อื่นมาร่วมจะต้องโอนทะเบียนรถให้เป็นของบริษัทฯ เสียก่อน โจทก์จึงขอให้จำเลยที่ 1 ทำสัญญาซื้อขายรถให้โจทก์เพื่อโจทก์จะได้นำสัญญาซื้อขายไปโอนทะเบียนรถยนต์ให้เป็นของบริษัทฯการทำสัญญาซื้อขายระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ก็เพื่อช่วยเหลือโจทก์ให้นำรถยนต์ที่โจทก์เช่าซื้อจากจำเลยที่ 1 เข้าร่วมในกิจการเดินรถของบริษัทฯ ได้เท่านั้น คู่สัญญาไม่มีเจตนาผูกพันกันตามสัญญาซื้อขาย แต่มีเจตนาผูกพันกันตามสัญญาเช่าซื้อสัญญาซื้อขายเป็นแต่เพียงการแสดงเจตนาลวงและเป็นนิติกรรมอำพราง จึงไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 เมื่อโจทก์ค้างชำระค่าเช่าซื้อหลายงวดติดต่อกัน จำเลยที่ 1 ก็มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อ และยึดรถกลับคืนได้ ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
เอกสารซึ่งเป็นพยานหลักฐานอันสำคัญในคดี แม้จำเลยจะไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้โจทก์ ศาลก็มีอำนาจรับฟังได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
เอกสารซึ่งเป็นพยานหลักฐานอันสำคัญในคดี แม้จำเลยจะไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้โจทก์ ศาลก็มีอำนาจรับฟังได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการฎีกาเรื่องทุนทรัพย์ และการนำสืบหักล้างสัญญาเช่าซื้อว่าเป็นนิติกรรมอำพราง
ฟ้องโจทก์มีทุนทรัพย์ 37,500 บาท ส่วนฟ้องแย้งมีทุนทรัพย์ 30,000 บาท คำขออื่นตามฟ้องแย้งเป็นคำขอไม่มีทุนทรัพย์ต่อเนื่องจากคำขอมีทุนทรัพย์ ดังนั้น ทุนทรัพย์ที่พิพาทตามฟ้องโจทก์และฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 จึงไม่เกินห้าหมื่นบาท เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2518 มาตรา 6
การที่จำเลยนำสืบว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นนิติกรรมอำพรางสัญญากู้ยืมตกเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้นั้น มิใช่เป็นการนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร หากแต่เป็นการนำสืบหักล้างสัญญาเช่าซื้อว่าไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด จำเลยนำสืบได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
การที่จำเลยนำสืบว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นนิติกรรมอำพรางสัญญากู้ยืมตกเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้นั้น มิใช่เป็นการนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร หากแต่เป็นการนำสืบหักล้างสัญญาเช่าซื้อว่าไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด จำเลยนำสืบได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำกัดสิทธิฎีกาเมื่อทุนทรัพย์ไม่เกินห้าหมื่นบาท และข้อยกเว้นการห้ามนำสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร
ฟ้องโจทก์มีทุนทรัพย์ 37,500 บาท ส่วนฟ้องแย้งมีทุนทรัพย์ 30,000 บาท คำขออื่นตามฟ้องแย้งเป็นคำขอไม่มีทุนทรัพย์ต่อเนื่องจากคำขอมีทุนทรัพย์ดังนั้นทุนทรัพย์ที่พิพาทตามฟ้องโจทก์และฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 จึงไม่เกินห้าหมื่นบาทเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น จึงต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 6)พ.ศ.2518 มาตรา 6
การที่จำเลยนำสืบว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นนิติกรรมอำพรางสัญญากู้ยืมตกเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้นั้น มิใช่เป็นการนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารหากแต่เป็นการนำสืบหักล้างสัญญาเช่าซื้อว่าไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด จำเลยนำสืบได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
การที่จำเลยนำสืบว่าสัญญาเช่าซื้อเป็นนิติกรรมอำพรางสัญญากู้ยืมตกเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้นั้น มิใช่เป็นการนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารหากแต่เป็นการนำสืบหักล้างสัญญาเช่าซื้อว่าไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด จำเลยนำสืบได้ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2403/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพรางสัญญาขายฝากเป็นหลักฐานการกู้ ดอกเบี้ยเกินอัตรา
กู้เงิน 500,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อเดือน ทำเป็นสัญญาขายฝาก 400,000 บาท ทำเป็นสัญญากู้ 120,000บาท สัญญาขายฝากเป็นนิติกรรมอำพราง ต้องบังคับตามสัญญากู้โดยใช้สัญญาขายฝากเป็นหลักฐานการกู้ ผู้ซื้อฝากฟ้องเรียกเงินตามสัญญากู้ 120,000 บาท ผู้ขายฝากฟ้องแย้งเรียกที่ดินคืนได้ ดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี ต้องห้ามตาม พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 จึงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยตั้งแต่วันผิดนัด