พบผลลัพธ์ทั้งหมด 207 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 982/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลพินัยกรรมและการตั้งผู้จัดการมรดก: ศาลต้องวินิจฉัยผลบังคับใช้พินัยกรรมก่อนพิจารณาคุณสมบัติผู้จัดการมรดก
ผู้ร้องขอให้ศาลมีคำสั่งตั้ง ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกที่ผู้ตายทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกทั้งหมดให้ผู้ร้องแต่ ผู้เดียวมิได้อ้างว่าเป็นทายาทโดยธรรมของผู้ตาย หากพินัยกรรมที่ผู้ร้องอ้างเป็นพินัยกรรมที่ผู้ร้องใช้ กลฉ้อฉล ให้ผู้ตายทำขึ้น ผู้ร้องอาจถูก กำจัดมิให้รับมรดกฐาน เป็นผู้ไม่สมควร และอาจเป็นเหตุให้ไม่สมควรตั้ง ผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตาย ตรงกันข้ามถ้าพินัยกรรมนั้นสมบูรณ์ ทรัพย์มรดกทั้งหมดของผู้ตายย่อมตก ได้แก่ผู้ร้องแต่ ผู้เดียว ผู้คัดค้านย่อมไม่มีส่วนได้เสียและไม่มีสิทธิคัดค้าน ฉะนั้นปัญหาว่าพินัยกรรมตาม คำร้องมีผลบังคับได้ ตามกฎหมายหรือไม่ จึงเป็นประเด็นสำคัญที่ศาลจะต้อง วินิจฉัยประกอบประเด็นที่ว่าผู้ร้องหรือผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 982/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลพินัยกรรมและคุณสมบัติผู้จัดการมรดก: ศาลต้องวินิจฉัยผลผูกพันพินัยกรรมก่อนพิจารณาคุณสมบัติผู้จัดการมรดก
ผู้ร้องขอให้ศาลมีคำสั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกที่ผู้ตายทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกทั้งหมดให้ผู้ร้องแต่ผู้เดียวมิได้อ้างว่าเป็นทายาทโดยธรรมของผู้ตาย หากพินัยกรรมที่ผู้ร้องอ้างเป็นพินัยกรรมที่ผู้ร้องใช้กลฉ้อฉลให้ผู้ตายทำขึ้น ผู้ร้องอาจถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร และอาจเป็นเหตุให้ไม่สมควรตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกผู้ตาย ตรงกันข้ามถ้าพินัยกรรมนั้นสมบูรณ์ ทรัพย์มรดกทั้งหมดของผู้ตายย่อมตกได้แก่ผู้ร้องแต่ผู้เดียว ผู้คัดค้านย่อมไม่มีส่วนได้เสียและไม่มีสิทธิคัดค้านปัญหาว่าพินัยกรรมตามคำร้องมีผลบังคับได้ตามกฎหมายหรือไม่จึงเป็นประเด็นสำคัญที่จะต้องวินิจฉัยประกอบประเด็นที่ว่าผู้ร้องหรือผู้คัดค้านสมควรเป็นผู้จัดการมรดก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2328/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อุทธรณ์นอกประเด็น & การกำหนดคุณสมบัติผู้สมัครเลื่อนตำแหน่งไม่ขัดต่อระเบียบลาของพนักงาน
โจทก์อุทธรณ์ในข้อที่โจทก์มิได้บรรยายเป็นข้อหาไว้ในคำฟ้อง แม้ชั้นพิจารณาจำเลยจะเป็นฝ่ายนำสืบถึงข้อเท็จจริงดังกล่าว และศาลแรงงานกลางรับวินิจฉัยให้ ก็เป็นเรื่องนอกประเด็นต้องถือว่าเป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลาง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 31 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
ระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 180 ว่าด้วยการลาของพนักงานธนาคารออมสิน กล่าวถึงสิทธิของพนักงานธนาคารออมสินที่มีเวลาทำงานในธนาคารออมสินเป็นระยะเวลานานเท่าใดแล้วมีสิทธิลาป่วย ลากิจโดยได้รับเงินเดือนเต็มหรือกึ่งหนึ่งหรือไม่ได้รับเงินเดือนในปีหนึ่งมีจำนวนกี่วัน โดยระเบียบมิได้กล่าวถึงเรื่องการกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งให้มีระดับสูงขึ้น การที่จำเลยกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งโดย กำหนดว่าต้องมีวันลาไม่เกิน 54 วัน ภายใน 3 ปีนับถึงวันปิดรับสมัคร จึงไม่กระทบถึงสิทธิของพนักงานจำเลย และไม่ฝ่าฝืนระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 180
ระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 180 ว่าด้วยการลาของพนักงานธนาคารออมสิน กล่าวถึงสิทธิของพนักงานธนาคารออมสินที่มีเวลาทำงานในธนาคารออมสินเป็นระยะเวลานานเท่าใดแล้วมีสิทธิลาป่วย ลากิจโดยได้รับเงินเดือนเต็มหรือกึ่งหนึ่งหรือไม่ได้รับเงินเดือนในปีหนึ่งมีจำนวนกี่วัน โดยระเบียบมิได้กล่าวถึงเรื่องการกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งให้มีระดับสูงขึ้น การที่จำเลยกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งโดย กำหนดว่าต้องมีวันลาไม่เกิน 54 วัน ภายใน 3 ปีนับถึงวันปิดรับสมัคร จึงไม่กระทบถึงสิทธิของพนักงานจำเลย และไม่ฝ่าฝืนระเบียบการธนาคารออมสิน ฉบับที่ 180
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2328/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดคุณสมบัติผู้สมัครเลื่อนตำแหน่งโดยอิงวันลา ไม่ขัดต่อระเบียบและข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ศาลฎีกายืนตามศาลแรงงานกลาง
โจทก์อุทธรณ์ในข้อที่โจทก์มิได้บรรยายเป็นข้อหาไว้ในคำฟ้องแม้ชั้นพิจารณาจำเลยจะเป็นฝ่ายนำสืบถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวและ ศาลแรงงานกลาง รับวินิจฉัยให้ก็เป็นเรื่องนอกประเด็นต้องถือว่าเป็นเรื่องที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วใน ศาลแรงงานกลางต้องห้ามอุทธรณ์ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 31 ศาลฎีกา ไม่รับวินิจฉัย ระเบียบการธนาคาร ออมสิน ฉบับที่ 180 ว่าด้วยการลาของพนักงานธนาคารออมสิน กล่าวถึงสิทธิของพนักงานธนาคารออมสินที่มีเวลาทำงานในธนาคาร ออมสิน เป็นระยะเวลานานเท่าใดแล้วมีสิทธิลาป่วย ลากิจโดยได้รับเงินเดือนเต็มหรือกึ่งหนึ่งหรือไม่ได้รับเงินเดือนในปีหนึ่งมีจำนวนกี่วัน โดย ระเบียบมิได้กล่าวถึงเรื่องการกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งให้มีระดับสูงขึ้น การที่จำเลยกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนตำแหน่งโดย กำหนดว่าต้องมีวันลาไม่เกิน 54 วัน ภายใน 3 ปีนับถึงวันปิดรับสมัคร จึงไม่กระทบถึงสิทธิของพนักงานจำเลย และไม่ฝ่าฝืนระเบียบการธนาคาร ออมสิน ฉบับที่ 180.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1868/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีสมาชิกภาพสหภาพแรงงาน: คุณสมบัติสมาชิกต้องคงอยู่ขณะยื่นฟ้อง
อำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ ศาลก็มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้เอง
ข้อบังคับของจำเลยกำหนดว่า สมาชิกจำเลยจะต้อง มีคุณสมบัติเป็นลูกจ้างประจำของบริษัท เนชั่นแนลไทย จำกัด หรือลูกจ้างประจำของบริษัทซึ่งทำกิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า เมื่อขณะที่โจทก์ฟ้องได้ถูกนายจ้างเลิกจ้างแล้ว ในขณะยื่นฟ้องโจทก์จึงไม่มีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกจำเลยได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่ามติของคณะกรรมการจำเลยที่ปลดโจทก์ออกจากสมาชิกจำเลยเป็นโมฆะ อันมีผลทำให้โจทก์กลับเข้าเป็นสมาชิกของจำเลยอีก
ข้อบังคับของจำเลยกำหนดว่า สมาชิกจำเลยจะต้อง มีคุณสมบัติเป็นลูกจ้างประจำของบริษัท เนชั่นแนลไทย จำกัด หรือลูกจ้างประจำของบริษัทซึ่งทำกิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า เมื่อขณะที่โจทก์ฟ้องได้ถูกนายจ้างเลิกจ้างแล้ว ในขณะยื่นฟ้องโจทก์จึงไม่มีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกจำเลยได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่ามติของคณะกรรมการจำเลยที่ปลดโจทก์ออกจากสมาชิกจำเลยเป็นโมฆะ อันมีผลทำให้โจทก์กลับเข้าเป็นสมาชิกของจำเลยอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1868/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องเพิกถอนมติปลดสมาชิกสหภาพ: คุณสมบัติสมาชิกต้องมีในขณะยื่นฟ้อง
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่ามติของ คณะกรรมการสหภาพแรงงานจำเลยที่ให้ปลดโจทก์ออกจาก สมาชิกสหภาพแรงงานตกเป็นโมฆะนั้น เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าขณะ ยื่นฟ้องคดีนี้โจทก์ไม่มีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกของจำเลย ได้ อีกแล้ว ดังนี้โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง ปัญหาว่าโจทก์จะฟ้องเพิกถอนมติของจำเลยเพื่อกลับเข้าเป็นสมาชิกของจำเลยอีกต่อไปได้ หรือไม่ เป็นปัญหาอำนาจฟ้องซึ่งเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ดังนี้ แม้จำเลยไม่ได้ยกข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการขาดคุณสมบัติของโจทก์ขึ้นต่อสู้ ศาลก็มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเองได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1868/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีสมาชิกภาพสหภาพแรงงาน: คุณสมบัติสมาชิกต้องคงอยู่ขณะยื่นฟ้อง หากขาดคุณสมบัติแล้ว ไม่มีอำนาจฟ้อง
อำนาจฟ้องเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้จำเลยไม่ได้ยกขึ้นต่อสู้ ศาลก็มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้ เอง ข้อบังคับของจำเลยกำหนดว่า สมาชิกจำเลยจะต้อง มีคุณสมบัติเป็นลูกจ้างประจำของบริษัท เนชั่นแนลไทย จำกัด หรือลูกจ้างประจำของบริษัทซึ่ง ทำกิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า เมื่อขณะที่โจทก์ฟ้องได้ถูก นายจ้าง เลิกจ้างแล้ว ในขณะยื่นฟ้องโจทก์จึงไม่มีคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกจำเลยได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่ามติของคณะกรรมการจำเลยที่ปลดโจทก์ออกจากสมาชิกจำเลยเป็นโมฆะ อันมีผลทำให้โจทก์กลับเข้าเป็นสมาชิกของจำเลยอีก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1013/2533 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างเนื่องจากอายุครบ 60 ปี และการไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย
จำเลยให้โจทก์ออกจากงานเพราะโจทก์มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ อันเป็นการขาดคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 มาตรา 9 (2) ซึ่งโจทก์รู้ล่วงหน้าถึงข้อกำหนดคุณสมบัตินี้ จำเลยจึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1013/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างเนื่องจากอายุครบ 60 ปี ไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตาม พ.ร.บ.คุณสมบัติมาตรฐานพนักงานรัฐวิสาหกิจ
การที่จำเลยให้โจทก์ออกจากงาน เพราะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์นั้น เป็นการขาดคุณสมบัติการเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.บ.คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจฯ มาตรา 9(2)โจทก์ได้ รู้ล่วงหน้าถึง ข้อกำหนดคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว จึงมิใช่กรณีที่จะต้อง บอกกล่าวล่วงหน้าตาม ป.พ.พ. มาตรา 582 ดังนี้ จำเลยไม่ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1013/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างเนื่องจากเกษียณอายุและการไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมาย
จำเลยให้โจทก์ออกจากงานเพราะโจทก์มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์อันเป็นการขาดคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 มาตรา 9(2) ซึ่ง โจทก์รู้ล่วงหน้าถึงข้อกำหนดคุณสมบัตินี้ จำเลยจึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582