พบผลลัพธ์ทั้งหมด 279 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2317/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบมูลหนี้เดิมและการแปลงหนี้ใหม่ โดยไม่ขัดต่อคำฟ้อง และการรับฟังพยานหลักฐานจากคำรับของจำเลย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าเดิมสามีจำเลยกู้เงินโจทก์ไป จำเลยรู้เห็นด้วย เมื่อสามีจำเลยถึงแก่กรรมจำเลยได้ทำหนังสือสัญญากู้ให้โจทก์ไว้ แต่จำเลยไม่ชำระเงินตามสัญญากู้นั้น จึงเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ของสัญญากู้ซึ่งโจทก์มีสิทธินำสืบได้โดยไม่ต้องบรรยายไว้ในคำฟ้องและไม่เป็นการนำสืบแตกต่างจากคำฟ้อง
โจทก์ฟ้องคดีโดยแนบสำเนาหนังสือสัญญากู้มาท้ายฟ้อง เมื่อคำให้การและทางนำสืบจำเลยยอมรับว่าได้ทำหนังสือสัญญากู้ฉบับพิพาทไว้ให้โจทก์จริง ดังนี้ข้อเท็จจริงรับฟังได้ตามคำรับของจำเลยแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้ตามฟ้อง กรณีไม่จำต้องยกเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทขึ้นวินิจฉัย โจทก์จึงไม่จำต้องเสียค่าอ้างเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทดังกล่าว.
โจทก์ฟ้องคดีโดยแนบสำเนาหนังสือสัญญากู้มาท้ายฟ้อง เมื่อคำให้การและทางนำสืบจำเลยยอมรับว่าได้ทำหนังสือสัญญากู้ฉบับพิพาทไว้ให้โจทก์จริง ดังนี้ข้อเท็จจริงรับฟังได้ตามคำรับของจำเลยแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้ตามฟ้อง กรณีไม่จำต้องยกเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทขึ้นวินิจฉัย โจทก์จึงไม่จำต้องเสียค่าอ้างเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2317/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบมูลหนี้เดิมและการแปลงหนี้ใหม่ การฟ้องตามสัญญากู้โดยมีหลักฐานลายมือชื่อ
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้รับเงินกู้ไปแล้ว การที่โจทก์นำสืบว่าเดิมสามีจำเลยกู้เงินโจทก์ไป จำเลยรู้เห็นด้วย เมื่อสามีจำเลยถึงแก่กรรมจำเลยได้ทำหนังสือสัญญากู้ให้โจทก์ไว้ แต่จำเลยไม่ชำระเงินตามสัญญากู้นั้น จึงเป็นการนำสืบถึงมูลหนี้ของสัญญากู้ซึ่งโจทก์มีสิทธินำสืบได้โดยไม่ต้องบรรยายไว้ในคำฟ้องและไม่เป็นการนำสืบแตกต่างจากคำฟ้อง
โจทก์ฟ้องคดีโดยแนบสำเนาหนังสือสัญญากู้มาท้ายฟ้อง เมื่อคำให้การและทางนำสืบจำเลยยอมรับว่าได้ทำหนังสือสัญญากู้ฉบับพิพาทไว้ให้โจทก์จริง ดังนี้ข้อเท็จจริงรับฟังได้ตามคำรับของจำเลยแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้ตามฟ้อง กรณีไม่จำต้องยกเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทขึ้นวินิจฉัย โจทก์จึงไม่จำต้องเสียค่าอ้างเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทดังกล่าว.
โจทก์ฟ้องคดีโดยแนบสำเนาหนังสือสัญญากู้มาท้ายฟ้อง เมื่อคำให้การและทางนำสืบจำเลยยอมรับว่าได้ทำหนังสือสัญญากู้ฉบับพิพาทไว้ให้โจทก์จริง ดังนี้ข้อเท็จจริงรับฟังได้ตามคำรับของจำเลยแล้วว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้ตามฟ้อง กรณีไม่จำต้องยกเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทขึ้นวินิจฉัย โจทก์จึงไม่จำต้องเสียค่าอ้างเอกสารสัญญากู้ฉบับพิพาทดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4476/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากสัญญาซื้อขายหลักทรัพย์เป็นสัญญากู้ยืมเงิน และการฟ้องร้องบังคับตามสัญญากู้ยืม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกู้เงินโจทก์ไปตามสัญญากู้เงินต่อมาจำเลยได้นำเงินที่ได้จากการขายหุ้น เงินปันผล และเงินสดมาชำระหนี้ให้โจทก์บางส่วนนับถึงวันที่ 11 กันยายน 2523 จำเลยชำระเงินต้นให้โจทก์ 831,333 บาท 67 สตางค์ กับดอกเบี้ยอีก 583,642 บาท 99 สตางค์ ซึ่งโจทก์ได้มีหนังสือถึงจำเลยให้ชำระเงินต้นส่วนที่เหลือพร้อมดอกเบี้ยตามเอกสารท้ายฟ้องอันเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องซึ่งได้ระบุยอดเงินต้นที่ค้างตรงตามฟ้อง คำฟ้องของโจทก์จึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 พอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีและสามารถต่อสู้คดีได้แล้ว ส่วนข้อที่ว่ายอดเงินที่จำเลยชำระคืนบางส่วนเป็นเงินเท่าใด เป็นเงินอะไร และมีการชำระเงินเมื่อใดนั้น เป็นเพียงรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบต่อไป หาจำต้องบรรยายในคำฟ้องไม่ จึงไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้ชำระเงินคืนบางส่วนแล้วจำเลยต้องรับผิดชำระหนี้ที่เหลือให้โจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์และไม่ได้รับเงินตามฟ้อง ดังนี้การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในคำพิพากษาโดยตั้งประเด็นพิพาทว่า จำเลยกู้เงินโจทก์หรือไม่และจะต้องรับผิดเพียงใดนั้น ย่อมมีความหมายทำนองเดียวกับประเด็นเดิมที่ตั้งไว้ในชั้นพิจารณาที่ว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินและรับเงินไปตามฟ้องหรือไม่ จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด และไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นหรือขยายประเด็นเดิม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าสัญญากู้เงินตามฟ้องมีมูลหนี้มาจากการซื้อขายหลักทรัพย์ จึงเป็นการแปลงหนี้ใหม่จากหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์มาเป็นหนี้เงินกู้ เป็นการวินิจฉัยถึงที่มาแห่งการทำสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์จำเลย จึงไม่ถือเป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด
จำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์เพื่อนำไปซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ฯ จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 3,500,000 บาทเศษ จำเลยจึงได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากโจทก์ ดังนี้การทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างโจทก์และจำเลยเป็นการแปลงหนี้ใหม่อันชอบด้วยกฎหมาย จึงบังคับตามสัญญากู้ยืมเงินได้
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินต้น 2,760,896.67 บาทกับดอกเบี้ยอีก 864,221.48 บาท ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยชำระ เฉพาะเงินต้น อันเป็นหนี้ส่วนใหญ่ที่จำเลยค้างชำระ ดังนี้ที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยชำระค่าฤชาธรรมเนียมโดยกำหนดค่าทนายความเป็นเงิน 10,000 บาทแทนโจทก์ และศาลอุทธรณ์กำหนดค่าทนายความในชั้นอุทธรณ์เป็นเงิน 6,000 บาท จึงเหมาะสมแล้ว
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้ชำระเงินคืนบางส่วนแล้วจำเลยต้องรับผิดชำระหนี้ที่เหลือให้โจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์และไม่ได้รับเงินตามฟ้อง ดังนี้การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในคำพิพากษาโดยตั้งประเด็นพิพาทว่า จำเลยกู้เงินโจทก์หรือไม่และจะต้องรับผิดเพียงใดนั้น ย่อมมีความหมายทำนองเดียวกับประเด็นเดิมที่ตั้งไว้ในชั้นพิจารณาที่ว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินและรับเงินไปตามฟ้องหรือไม่ จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด และไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นหรือขยายประเด็นเดิม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าสัญญากู้เงินตามฟ้องมีมูลหนี้มาจากการซื้อขายหลักทรัพย์ จึงเป็นการแปลงหนี้ใหม่จากหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์มาเป็นหนี้เงินกู้ เป็นการวินิจฉัยถึงที่มาแห่งการทำสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์จำเลย จึงไม่ถือเป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด
จำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์เพื่อนำไปซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ฯ จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 3,500,000 บาทเศษ จำเลยจึงได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากโจทก์ ดังนี้การทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างโจทก์และจำเลยเป็นการแปลงหนี้ใหม่อันชอบด้วยกฎหมาย จึงบังคับตามสัญญากู้ยืมเงินได้
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินต้น 2,760,896.67 บาทกับดอกเบี้ยอีก 864,221.48 บาท ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยชำระ เฉพาะเงินต้น อันเป็นหนี้ส่วนใหญ่ที่จำเลยค้างชำระ ดังนี้ที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยชำระค่าฤชาธรรมเนียมโดยกำหนดค่าทนายความเป็นเงิน 10,000 บาทแทนโจทก์ และศาลอุทธรณ์กำหนดค่าทนายความในชั้นอุทธรณ์เป็นเงิน 6,000 บาท จึงเหมาะสมแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4476/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากสัญญาซื้อขายหลักทรัพย์เป็นสัญญากู้ยืมเงิน และความสมบูรณ์ของสัญญา
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกู้เงินโจทก์ไปตามสัญญากู้เงินต่อมาจำเลยได้นำเงินที่ได้จากการขายหุ้น เงินปันผล และเงินสดมาชำระหนี้ให้โจทก์บางส่วนนับถึงวันที่ 11 กันยายน 2523 จำเลยชำระเงินต้นให้โจทก์ 831,333 บาท 67 สตางค์ กับดอกเบี้ยอีก 583,642บาท 99 สตางค์ ซึ่งโจทก์ได้มีหนังสือถึงจำเลยให้ชำระเงินต้นส่วนที่เหลือพร้อมดอกเบี้ยตามเอกสารท้ายฟ้องอันเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องซึ่งได้ระบุยอดเงินต้นที่ค้างตรงตามฟ้อง คำฟ้องของโจทก์จึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 พอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีและสามารถต่อสู้คดีได้แล้ว ส่วนข้อที่ว่ายอดเงินที่จำเลยชำระคืนบางส่วนเป็นเงินเท่าใด เป็นเงินอะไร และมีการชำระเงินเมื่อใดนั้น เป็นเพียงรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบต่อไป หาจำต้องบรรยายในคำฟ้องไม่ จึงไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้ชำระเงินคืนบางส่วนแล้วจำเลยต้องรับผิดชำระหนี้ที่เหลือให้โจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์และไม่ได้รับเงินตามฟ้อง ดังนี้การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในคำพิพากษาโดยตั้งประเด็นพิพาทว่าจำเลยกู้เงินโจทก์หรือไม่และจะต้องรับผิดเพียงใดนั้น ย่อมมีความหมายทำนองเดียวกับประเด็นเดิมที่ตั้งไว้ในชั้นพิจารณาที่ว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินและรับเงินไปตามฟ้องหรือไม่จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด และไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นหรือขยายประเด็นเดิม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าสัญญากู้เงินตามฟ้องมีมูลหนี้มาจากการซื้อขายหลักทรัพย์ จึงเป็นการแปลงหนี้ใหม่จากหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์มาเป็นหนี้เงินกู้ เป็นการวินิจฉัยถึงที่มาแห่งการทำสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์จำเลย จึงไม่ถือเป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด
จำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์เพื่อนำไปซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 3,500,000 บาทเศษ จำเลยจึงได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากโจทก์ ดังนี้การทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างโจทก์และจำเลยเป็นการแปลงหนี้ใหม่อันชอบด้วยกฎหมายจึงบังคับตามสัญญากู้ยืมเงินได้
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินต้น 2,760,896.67 บาทกับดอกเบี้ยอีก 864,221.48 บาท ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยชำระเฉพาะเงินต้น อันเป็นหนี้ส่วนใหญ่ที่จำเลยค้างชำระ ดังนี้ที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยชำระค่าฤชาธรรมเนียมโดยกำหนดค่าทนายความเป็นเงิน 10,000 บาทแทนโจทก์ และศาลอุทธรณ์กำหนดค่าทนายความในชั้นอุทธรณ์เป็นเงิน 6,000 บาท จึงเหมาะสมแล้ว
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้ชำระเงินคืนบางส่วนแล้วจำเลยต้องรับผิดชำระหนี้ที่เหลือให้โจทก์ จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์และไม่ได้รับเงินตามฟ้อง ดังนี้การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในคำพิพากษาโดยตั้งประเด็นพิพาทว่าจำเลยกู้เงินโจทก์หรือไม่และจะต้องรับผิดเพียงใดนั้น ย่อมมีความหมายทำนองเดียวกับประเด็นเดิมที่ตั้งไว้ในชั้นพิจารณาที่ว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินและรับเงินไปตามฟ้องหรือไม่จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด และไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นหรือขยายประเด็นเดิม
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าสัญญากู้เงินตามฟ้องมีมูลหนี้มาจากการซื้อขายหลักทรัพย์ จึงเป็นการแปลงหนี้ใหม่จากหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์มาเป็นหนี้เงินกู้ เป็นการวินิจฉัยถึงที่มาแห่งการทำสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์จำเลย จึงไม่ถือเป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด
จำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์เพื่อนำไปซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ จำเลยเป็นหนี้โจทก์ 3,500,000 บาทเศษ จำเลยจึงได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากโจทก์ ดังนี้การทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างโจทก์และจำเลยเป็นการแปลงหนี้ใหม่อันชอบด้วยกฎหมายจึงบังคับตามสัญญากู้ยืมเงินได้
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินต้น 2,760,896.67 บาทกับดอกเบี้ยอีก 864,221.48 บาท ศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยชำระเฉพาะเงินต้น อันเป็นหนี้ส่วนใหญ่ที่จำเลยค้างชำระ ดังนี้ที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยชำระค่าฤชาธรรมเนียมโดยกำหนดค่าทนายความเป็นเงิน 10,000 บาทแทนโจทก์ และศาลอุทธรณ์กำหนดค่าทนายความในชั้นอุทธรณ์เป็นเงิน 6,000 บาท จึงเหมาะสมแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4476/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากซื้อขายหลักทรัพย์เป็นหนี้เงินกู้ และความสมบูรณ์ของสัญญา
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ไปตามสัญญากู้เงินต่อมาจำเลยได้นำเงินที่ได้จากการขายหุ้นเงินปันผลและเงินสดมาชำระหนี้ให้โจทก์บางส่วนนับถึงวันที่11กันยายน2523จำเลยชำระเงินต้นให้โจทก์831,333บาท67สตางค์กับดอกเบี้ยอีก583,642บาท99สตางค์ซึ่งโจทก์ได้มีหนังสือถึงจำเลยให้ชำระเงินต้นส่วนที่เหลือพร้อมดอกเบี้ยตามเอกสารท้ายฟ้องอันเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องซึ่งได้ระบุยอดเงินต้นที่ค้างตรงตามฟ้องคำฟ้องของโจทก์จึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาและคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา172พอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีและสามารถต่อสู้คดีได้แล้วส่วนข้อที่ว่ายอดเงินที่จำเลยชำระคืนบางส่วนเป็นเงินเท่าใดเป็นเงินอะไรและมีการชำระเงินเมื่อใดนั้นเป็นเพียงรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบต่อไปหาจำต้องบรรยายในคำฟ้องไม่จึงไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์และได้ชำระเงินคืนบางส่วนแล้วจำเลยต้องรับผิดชำระหนี้ที่เหลือให้โจทก์จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์และไม่ได้รับเงินตามฟ้องดังนี้การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยในคำพิพากษาโดยตั้งประเด็นพิพาทว่าจำเลยกู้เงินโจทก์หรือไม่และจะต้องรับผิดเพียงใดนั้นย่อมมีความหมายทำนองเดียวกับประเด็นเดิมที่ตั้งไว้ในชั้นพิจารณาที่ว่าจำเลยได้ทำสัญญากู้เงินและรับเงินไปตามฟ้องหรือไม่จึงไม่เป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใดและไม่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็นหรือขยายประเด็นเดิม โจทก์ฟ้องว่าจำเลยกู้เงินโจทก์การที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าสัญญากู้เงินตามฟ้องมีมูลหนี้มาจากการซื้อขายหลักทรัพย์จึงเป็นการแปลงหนี้ใหม่จากหนี้ซื้อขายหลักทรัพย์มาเป็นหนี้เงินกู้เป็นการวินิจฉัยถึงที่มาแห่งการทำสัญญากู้เงินระหว่างโจทก์จำเลยจึงไม่ถือเป็นการวินิจฉัยนอกฟ้องแต่อย่างใด จำเลยได้กู้ยืมเงินโจทก์เพื่อนำไปซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯจำเลยเป็นหนี้โจทก์3,500,000บาทเศษจำเลยจึงได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากโจทก์ดังนี้การทำสัญญากู้ยืมเงินระหว่างโจทก์และจำเลยเป็นการแปลงหนี้ใหม่อันชอบด้วยกฎหมายจึงบังคับตามสัญญากู้ยืมเงินได้ โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินต้น2,760,896.67บาทกับดอกเบี้ยอีก864,221.48บาทศาลล่างทั้งสองวินิจฉัยให้จำเลยชำระเฉพาะเงินต้นอันเป็นหนี้ส่วนใหญ่ที่จำเลยค้างชำระดังนี้ที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยชำระค่าฤชาธรรมเนียมโดยกำหนดค่าทนายความเป็นเงิน10,000บาทแทนโจทก์และศาลอุทธรณ์กำหนดค่าทนายความในชั้นอุทธรณ์เป็นเงิน6,000บาทจึงเหมาะสมแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3475/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากสัญญากู้เป็นสัญญาขายฝาก ทำให้หนี้เงินกู้ระงับสิ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349
ทำสัญญากู้เงินกันแล้วตกลงเปลี่ยนสัญญานั้นเป็นสัญญาขายฝากเรือนเป็นการทำสัญญาเปลี่ยนสิ่งของซึ่งเป็นสาระสำคัญแห่งหนี้ ทำให้หนี้เงินกู้เป็นอันระงับสิ้นไปด้วยการแปลงหนี้ใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3475/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากสัญญากู้เป็นสัญญาขายฝาก ทำให้หนี้เดิมระงับสิ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349
ทำสัญญากู้เงินกันแล้วตกลงเปลี่ยนสัญญานั้นเป็นสัญญาขายฝากเรือนเป็นการทำสัญญาเปลี่ยนสิ่งของซึ่งเป็นสาระสำคัญแห่งหนี้ทำให้หนี้เงินกู้เป็นอันระงับสิ้นไปด้วยการแปลงหนี้ใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3475/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้จากสัญญากู้เป็นสัญญาขายฝาก ทำให้หนี้เดิมระงับสิ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 349
ทำสัญญากู้เงินกันแล้วตกลงเปลี่ยนสัญญานั้นเป็นสัญญาขายฝากเรือนเป็นการทำสัญญษเปลี่ยนสิ่งของซึ่งเป็นสาระสำคัญแห่งหนี้ทำให้หนี้เงินกู้เป็นอันระงับสิ้นไปด้วยการแปลงหนี้ใหม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา349.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3453/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้ และสิทธิในการรับมรดกของผู้ทายาท
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าเดิมบิดาจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเอาบ้านพิพาทค้ำประกันไว้ เมื่อบิดาจำเลยตาย จำเลยได้ชำระหนี้บางส่วนแทนผู้ตายแก่โจทก์ ส่วนที่เหลือทำสัญญาไว้ จำเลยไม่ชำระหนี้และศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนี้ให้แก่โจทก์โดยยึดบ้านที่ค้ำประกันเพื่อขายทอดตลาด การที่จำเลยเข้าทำสัญญากู้กับโจทก์ยอมรับใช้หนี้ของบิดานั้นเป็นการแปลงหนี้ใหม่ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้โดยจำเลยเข้ารับภาระเป็นลูกหนี้แทนบิดา ทำให้หนี้เดิมระงับและบิดาจำเลยลูกหนี้คนเก่าหลุดพ้นจากหนี้ไป การแปลงหนี้ดังกล่าวโจทก์จำเลยจะทำสัญญากันโดยลำพังไม่ต้องให้บิดาจำเลยลูกหนี้คนเก่าเข้ามาเกี่ยวข้องทำสัญญาด้วยก็ได้ เพราะการแปลงหนี้ใหม่ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้นั้นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 350 ห้ามแต่เพียงว่าจะทำโดยขืนใจลูกหนี้เดิมไม่ได้เท่านั้น เมื่อบิดาจำเลยลูกหนี้คนเดิมตายไปแล้ว กรณีที่จะถือว่าเป็นการขืนใจลูกหนี้เดิมก็ไม่มี หนี้ตามคำพิพากษาจึงเป็นหนี้ของจำเลยแต่ผู้เดียว ผู้ร้องทั้งหกและจำเลยในฐานะทายาทโดยธรรมของผู้ตายย่อมมีสิทธิรับมรดกบ้านที่ถูกยึดคนละส่วน ผู้ร้องทั้งหมดจึงมีสิทธิขอกันส่วนเงินขายบ้านที่ถูกยึดคนละส่วน รวม 6 ส่วน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3453/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแปลงหนี้ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้และสิทธิในการรับส่วนแบ่งมรดกจากทรัพย์สินที่ถูกยึด
ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าเดิมบิดาจำเลยเป็นหนี้โจทก์โดยเอาบ้านพิพาทค้ำประกันไว้เมื่อบิดาจำเลยตาย จำเลยได้ชำระหนี้บางส่วนแทนผู้ตายแก่โจทก์ ส่วนที่เหลือทำสัญญาไว้ จำเลยไม่ชำระหนี้และศาลพิพากษาให้จำเลยชำระหนี้ให้แก่โจทก์โดยยึดบ้านที่ค้ำประกันเพื่อขายทอดตลาดการที่จำเลยเข้าทำสัญญากู้กับโจทก์ยอมรับใช้หนี้ของบิดานั้นเป็นการแปลงหนี้ใหม่ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้โดยจำเลยเข้ารับภาระเป็นลูกหนี้แทนบิดา ทำให้หนี้เดิมระงับและบิดาจำเลยลูกหนี้คนเก่าหลุดพ้นจากหนี้ไป การแปลงหนี้ดังกล่าวโจทก์จำเลยจะทำสัญญากันโดยลำพังไม่ต้องให้บิดาจำเลยลูกหนี้คนเก่าเข้ามาเกี่ยวข้องทำสัญญาด้วยก็ได้ เพราะการแปลงหนี้ใหม่ด้วยการเปลี่ยนตัวลูกหนี้นั้นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 350ห้ามแต่เพียงว่าจะทำโดยขืนใจลูกหนี้เดิมไม่ได้เท่านั้นเมื่อบิดาจำเลยลูกหนี้คนเดิมตายไปแล้วกรณีที่จะถือว่าเป็นการขืนใจลูกหนี้เดิมก็ไม่มีหนี้ตามคำพิพากษาจึงเป็นหนี้ของจำเลยแต่ผู้เดียว ผู้ร้องทั้งหกและจำเลยในฐานะทายาทโดยธรรมของผู้ตายย่อมมีสิทธิรับมรดกบ้านที่ถูกยึดคนละส่วน ผู้ร้องทั้งหมดจึงมีสิทธิขอกันส่วนเงินขายบ้านที่ถูกยึดคนละส่วน รวม 6 ส่วน