พบผลลัพธ์ทั้งหมด 293 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3361/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกเว้นภาษีการค้าสำหรับเหล็กเส้นตามพระราชกฤษฎีกา ต้องเป็นไปตามประเภทและลักษณะที่กำหนด
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่ 54) พ.ศ. 2517 มิใช่บทบัญญัติที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานที่จะใช้ดุลพินิจเรียกเก็บหรือไม่เรียกเก็บภาษีการค้าจากสินค้าประเภท ที่นอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา
การขายสินค้าที่จะได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มาตรา 5 (8) จะต้องเป็นการขายสินค้า ตามประเภทการค้า ที่ 1 ชนิด 1 ก. ของบัญชีอัตราภาษีการค้า เฉพาะที่ผลิตในราชอาณาจักร และมิได้ระบุในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 'เหล็กเส้น' เป็นสินค้าในบัญชีที่ 1 หมวด 4 วัตถุก่อสร้างและเครื่องเรือน (4) ท้ายพระราชกฤษฎีกา โดยบัญชีดังกล่าวมิได้กำหนดว่าเหล็กเส้นนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไร ดังนั้นแม้เหล็กเส้นที่โจทก์ผลิตจำหน่ายจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป โจทก์ก็มิได้รับยกเว้นภาษีการค้า.
การขายสินค้าที่จะได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มาตรา 5 (8) จะต้องเป็นการขายสินค้า ตามประเภทการค้า ที่ 1 ชนิด 1 ก. ของบัญชีอัตราภาษีการค้า เฉพาะที่ผลิตในราชอาณาจักร และมิได้ระบุในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 'เหล็กเส้น' เป็นสินค้าในบัญชีที่ 1 หมวด 4 วัตถุก่อสร้างและเครื่องเรือน (4) ท้ายพระราชกฤษฎีกา โดยบัญชีดังกล่าวมิได้กำหนดว่าเหล็กเส้นนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไร ดังนั้นแม้เหล็กเส้นที่โจทก์ผลิตจำหน่ายจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป โจทก์ก็มิได้รับยกเว้นภาษีการค้า.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3361/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกเว้นภาษีการค้าตาม พรฎ.ฉบับ 54 พ.ศ.2517 ต้องเป็นไปตามบัญชีอัตราภาษีที่กำหนด แม้ไม่มีข้อจำกัดเส้นผ่าศูนย์กลางก็ต้องเสียภาษี
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่ 54) พ.ศ. 2517 มิใช่บทบัญญัติที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานที่จะใช้ดุลพินิจเรียกเก็บหรือไม่เรียกเก็บภาษีการค้าจากสินค้าประเภทที่นอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา การขายสินค้าที่จะได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มาตรา 5(8) จะต้องเป็นการขายสินค้า ตามประเภทการค้าที่ 1 ชนิด 1 ก. ของบัญชีอัตราภาษีการค้าเฉพาะที่ผลิตในราชอาณาจักรและมิได้ระบุในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกา เมื่อ "เหล็กเส้น" เป็นสินค้าในบัญชีที่ 1 หมวด 4 วัตถุก่อสร้างและเครื่องเรือน (4)ท้ายพระราชกฤษฎีกาโดยบัญชีดังกล่าวมิได้กำหนดว่าเหล็กเส้นนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไร ดังนั้น แม้เหล็กเส้นที่โจทก์ผลิตจำหน่ายจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป โจทก์ก็มิได้รับยกเว้นภาษีการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3361/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกเว้นภาษีการค้าสำหรับเหล็กเส้นตามพระราชกฤษฎีกา ต้องเป็นไปตามบัญชีอัตราภาษีที่กำหนด ไม่สามารถใช้ดุลพินิจ
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่ 54) พ.ศ. 2517 มิใช่บทบัญญัติที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานที่จะใช้ดุลพินิจเรียกเก็บหรือไม่เรียกเก็บภาษีการค้าจากสินค้าประเภทที่นอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา
การขายสินค้าที่จะได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มาตรา 5(8) จะต้องเป็นการขายสินค้า ตามประเภทการค้า ที่ 1 ชนิด 1 ก. ของบัญชีอัตราภาษีการค้า เฉพาะที่ผลิตในราชอาณาจักร และมิได้ระบุในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 'เหล็กเส้น' เป็นสินค้าในบัญชีที่ 1 หมวด 4 วัตถุก่อสร้างและเครื่องเรือน (4) ท้ายพระราชกฤษฎีกา โดยบัญชีดังกล่าวมิได้กำหนดว่าเหล็กเส้นนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไร ดังนั้นแม้เหล็กเส้นที่โจทก์ผลิตจำหน่ายจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป โจทก์ก็มิได้รับยกเว้นภาษีการค้า.
การขายสินค้าที่จะได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มาตรา 5(8) จะต้องเป็นการขายสินค้า ตามประเภทการค้า ที่ 1 ชนิด 1 ก. ของบัญชีอัตราภาษีการค้า เฉพาะที่ผลิตในราชอาณาจักร และมิได้ระบุในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาเมื่อ 'เหล็กเส้น' เป็นสินค้าในบัญชีที่ 1 หมวด 4 วัตถุก่อสร้างและเครื่องเรือน (4) ท้ายพระราชกฤษฎีกา โดยบัญชีดังกล่าวมิได้กำหนดว่าเหล็กเส้นนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไร ดังนั้นแม้เหล็กเส้นที่โจทก์ผลิตจำหน่ายจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 1 นิ้วขึ้นไป โจทก์ก็มิได้รับยกเว้นภาษีการค้า.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3309/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจประเมินภาษีการค้า เจ้าพนักงานประเมินมิอาจกำหนดรายรับขั้นต่ำล่วงหน้าตามมาตรา 87 ทวิ (7) แต่มีอำนาจภายหลังไม่ยื่นแบบ
มาตรา 83 ทวิ (7) แห่งประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าที่มิได้ยื่นแบบแสดงรายการค้าหรือยื่นไม่ถูกต้อง หรือไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือตอบคำถามของเจ้าพนักงานประเมินนั้นเป็นการให้อำนาจประเมินภาษีที่ถึงกำหนดชำระแล้ว มิใช่ให้อำนาจประเมินภาษีกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้เป็นการล่วงหน้าเมื่อขณะเกิดเหตุคดีนี้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2529 ซึ่งบัญญัติให้เพิ่มเติมมาตรา 86 เบญจที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าบางประเภทไว้เป็นการล่วงหน้าได้คราวละไม่เกิน 24 เดือน ยังไม่ใช้บังคับการที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินภาษีการค้าของโจทก์โดยกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้า จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์ได้รับหนังสือแจ้งการกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้าจากเจ้าพนักงานประเมินแล้วไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ยอมรับการกำหนดรายรับขั้นต่ำนั้น.
การที่โจทก์ได้รับหนังสือแจ้งการกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้าจากเจ้าพนักงานประเมินแล้วไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ยอมรับการกำหนดรายรับขั้นต่ำนั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3309/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้า เจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำล่วงหน้าโดยอาศัยมาตรา 86 เบญจ มิชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 87 ทวิ (7) แห่งประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าที่มิได้ยื่นแบบแสดงรายการค้าหรือยื่นไม่ถูกต้อง หรือไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือตอบคำถามของเจ้าพนักงานประเมินนั้นเป็นการให้อำนาจประเมินภาษีที่ถึงกำหนดชำระแล้ว มิใช่ให้อำนาจประเมินภาษีกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้เป็นการล่วงหน้า เมื่อขณะเกิดเหตุคดีนี้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14)พ.ศ. 2529 ซึ่งบัญญัติให้เพิ่มเติมมาตรา 86 เบญจ ที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าบางประเภทไว้เป็นการล่วงหน้าได้คราวละไม่เกิน 24 เดือนยังไม่ใช้บังคับ การที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินภาษีการค้าของโจทก์โดยกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้า จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย การที่โจทก์ได้รับหนังสือแจ้งการกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้าจากเจ้าพนักงานประเมินแล้วไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ยอมรับการกำหนดรายรับขั้นต่ำนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3309/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้าโดยกำหนดรายรับขั้นต่ำล่วงหน้าโดยมิชอบตามประมวลรัษฎากร
มาตรา 83 ทวิ (7) แห่งประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าที่มิได้ยื่นแบบแสดงรายการค้าหรือยื่นไม่ถูกต้อง หรือไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือตอบคำถามของเจ้าพนักงานประเมินนั้นเป็นการให้อำนาจประเมินภาษีที่ถึงกำหนดชำระแล้ว มิใช่ให้อำนาจประเมินภาษีกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้เป็นการล่วงหน้าเมื่อขณะเกิดเหตุคดีนี้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2529 ซึ่งบัญญัติให้เพิ่มเติมมาตรา 86 เบญจที่ให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำของผู้ประกอบการค้าบางประเภทไว้เป็นการล่วงหน้าได้คราวละไม่เกิน 24 เดือน ยังไม่ใช้บังคับการที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินภาษีการค้าของโจทก์โดยกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้า จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์ได้รับหนังสือแจ้งการกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้าจากเจ้าพนักงานประเมินแล้วไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ยอมรับการกำหนดรายรับขั้นต่ำนั้น.
การที่โจทก์ได้รับหนังสือแจ้งการกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้ล่วงหน้าจากเจ้าพนักงานประเมินแล้วไม่ได้โต้แย้งคัดค้าน ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ยอมรับการกำหนดรายรับขั้นต่ำนั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3308/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้าล่วงหน้าโดยเจ้าพนักงานประเมินไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้ผู้ประกอบการค้าไม่ได้โต้แย้ง
ตามมาตรา 87 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจกำหนดรายรับของผู้ประกอบการค้าที่ชำระภาษีการค้าไว้ไม่ถูกต้องหรือไม่ยื่นแบบแสดงรายการค้าในปีที่ล่วงมาแล้วตามหลักเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการคำนวณภาษีการค้าในปีที่ล่วงมาแล้วหรือถึงกำหนดชำระแล้ว มิใช่เป็นบทบัญญัติให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำไว้เป็นการล่วงหน้าเพื่อใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีในปีที่ยังไม่ถึงกำหนดเวลาที่จะต้องยื่นแบบแสดงรายการค้า ต่อมา พ.ศ. 2529 จึงมีมาตรา 86 เบญจบัญญัติให้อำนาจเจ้าพนักงานประเมินกำหนดรายรับขั้นต่ำได้ โดยต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนดแต่มิใช่เป็นการกำหนดวิธีการ หลักเกณฑ์เงื่อนไขการกำหนดรายรับที่เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจกำหนดอยู่แล้วตามมาตรา 87 ทวิ(7) ซึ่งเป็นคนละเรื่องกัน ดังนั้นการที่เจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินภาษีการค้าของโจทก์ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2523 ถึงเดือนมกราคม 2526 โดยใช้รายรับขั้นต่ำที่เจ้าพนักงานประเมินกำหนดไว้ล่วงหน้าเป็นฐานในการคำนวณภาษีการค้า จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ที่เห็นด้วยก็ไม่ชอบเช่นกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3215-3218/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกคืนภาษีการค้า: การชำระภาษีโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมาย ไม่ถือเป็นการรับชำระหนี้โดยไม่มีมูล อายุความ 10 ปี
กรมสรรพากรจำเลยที่ 5 ฎีกาและยื่นคำร้องว่า กำลังดำเนินการโอนเงินมาเพื่อวางศาลเป็นค่าฤชาธรรมเนียม ขอผัดการวางเงินประมาณ 1 เดือนดังนี้ เป็นการขอขยายระยะเวลาวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมมีกำหนดแน่นอนเท่าที่จะทำได้ ต่อมาจำเลยที่ 5 นำเงินค่าฤชาธรรมเนียมมาวางศาลภายใน 1 เดือนตามที่ขอผัดไว้ ที่ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตตามคำร้องและสั่งรับฎีกาจำเลยที่ 5 จึงชอบแล้ว
โจทก์ชำระเงินค่าภาษีอากรตามที่ฝ่ายจำเลยเรียกเก็บโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมาย จำเลยจะอ้างว่าโจทก์กระทำตามอำเภอใจเพื่อชำระหนี้โดยตนรู้ว่าไม่มีความผูกพันที่ต้องชำระอันเป็นลาภมิควรได้ซึ่งมีอายุความ 1 ปีหาได้ไม่ เมื่อโจทก์ไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าโจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกคืนได้ภายในอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164.
โจทก์ชำระเงินค่าภาษีอากรตามที่ฝ่ายจำเลยเรียกเก็บโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมาย จำเลยจะอ้างว่าโจทก์กระทำตามอำเภอใจเพื่อชำระหนี้โดยตนรู้ว่าไม่มีความผูกพันที่ต้องชำระอันเป็นลาภมิควรได้ซึ่งมีอายุความ 1 ปีหาได้ไม่ เมื่อโจทก์ไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าโจทก์จึงมีอำนาจฟ้องเรียกคืนได้ภายในอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 164.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 311/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้าและการใช้สิทธิประโยชน์ตามพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร มาตรา 30
จำเลยส่งแบบแจ้งการประเมินแก่โจกท์ ไม่มีผู้ใดยอมรับ จำเลยจึงนำแบบแจ้งการประเมินไปปิดไว้ที่หน้าประตูสำนักงานโจทก์ตามที่โจทก์ระบุในการยื่นแบบ อ.1 แม้สำนักงานดังกล่าวจะเป็นสำนักงานสาขาของโจทก์ก็รวมอยู่ในความหมายของคำว่าสำนักงานตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 8 ที่ให้ใช้บังคับขณะนั้น การที่เจ้าหน้าที่ของจำเลยปิดแบบแจ้งการประเมิน ณ สถานที่ดังกล่าวจึงเป็นการชอบด้วยกฎหมายแล้ว ตามมาตรา 30 แห่งพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2529 มาตรา 30 วรรคหก (2) กำหนดไว้มิให้ใช้บทบัญญัติมาตรา 30 บังคับแก่บุคคลที่เจ้าพนักงานประเมินได้ทำการประเมินหรือสั่งให้เสีย...โดยได้ทำการประเมินหรือสั่งก่อนวันที่พระราชกำหนด นี้ใช้บังคับ คดีนี้เจ้าพนักงานประเมินแจ้งการประเมินให้โจทก์ทราบก่อนวันที่พระราชกำหนดใช้บังคับ โจทก์จึงไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ทั้งการประเมินของจำเลยเป็นการประเมินภาษีการค้า ส่วนที่โจทก์ยื่นคำขอเสียภาษีอากรตามมาตรา30 เป็นเรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล แม้โจทก์จะเสียภาษีส่วนนี้ไปแล้วก็เป็ฯภาษีคนละประเภทกัน โจทก์จึงไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา 30แห่งพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2529โดยนัยนี้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3067/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้ประกอบการค้าที่ไม่ทำบัญชีคุมสินค้าตามกฎหมาย ถือเป็นการขายสินค้าและต้องเสียภาษี
โจทก์ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปส่งจำหน่ายต่างประเทศซึ่งเป็นการประกอบการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 1 (ก) ตามบัญชีอัตราภาษีการค้า เมื่อโจทก์มีสินค้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปคงเหลือ ณ โรงงานของโจทก์ โดยโจทก์ไม่ทำบัญชีคุมสินค้าตามมาตรา 83 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร แม้โจทก์จะได้รับการส่งเสริมการลงทุนสำหรับสินค้าที่ส่งออก โจทก์ก็ไม่ได้รับยกเว้นการทำบัญชีคุมสินค้าตามมาตรา 83 ทวิ วรรค 2 แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อโจทก์ไม่ทำบัญชีคุมสินค้าจึงถือว่าเป็นการขายสินค้านั้นโดยถือมูลค่าของสินค้าดังกล่าวเป็นรายรับตามมาตรา 79 ทวิ (6) แห่งประมวลรัษฎากรโจทก์ต้องเสียภาษีการค้า เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และภาษีบำรุงเทศบาลตามกฎหมาย.