พบผลลัพธ์ทั้งหมด 162 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1938-1945/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยโดยการได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และหน้าที่ในการต่ออายุ
การขาดจากสัญชาติไทยตาม พ.ร.บ.สัญชาติ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2496 ++เป็นไปด้วยใจสมัคร
เมื่อบุคคลยังมีสัญชาติไทยอยู่ ก็มีหน้าที่ต้องมีใบสำคัญหรือต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว.
เมื่อบุคคลยังมีสัญชาติไทยอยู่ ก็มีหน้าที่ต้องมีใบสำคัญหรือต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1938-1945/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยต้องเกิดจากความสมัครใจ การมีใบสำคัญคนต่างด้าวไม่ได้หมายถึงการสละสัญชาติ
การขาดจากสัญชาติไทยตาม พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2)พ.ศ.2496 ต้องเป็นไปด้วยใจสมัคร
เมื่อบุคคลยังมีสัญชาติไทยอยู่ ก็ไม่มีหน้าที่ต้องมีใบสำคัญหรือต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
เมื่อบุคคลยังมีสัญชาติไทยอยู่ ก็ไม่มีหน้าที่ต้องมีใบสำคัญหรือต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1783/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์สัญชาติไทยและการมีอำนาจฟ้องร้องกรณีคำสั่งให้ออกจากราชอาณาจักร
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าโจทก์เกิดในประเทศไทยมีสัญชาติเป็นไทยให้เพิกถอนคำสั่งที่ให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรไทย จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าวเกิดในประเทศจีนเข้ามาในราชอาณาจักรไทยโดยมิได้รับอนุญาต ประเด็นจึงมีว่าโจทก์เป็นคนสัญชาติไทยโดยเกิดในประเทศไทยจริงหรือไม่ ส่วนข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์เคยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวย่อมขาดจากสัญชาติไทยตาม พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) 2496 นั้น เป็นกรณีที่เกิดขึ้นเนื่องจากมี ก.ม.ซึ่งเพิ่งออกใช้ภายหลังฟ้องจะเท็จจริงประการใดจึงยังไม่เป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยในชั้นนี้
คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมืองซึ่งเป็นคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งโดย พ.ร.บ. คนเข้าเมืองไม่ใช่บุคคลอันสังกัดขึ้นอยู่กับกรมตำรวจก็ตามมีหน้าที่เพียงพิจารณาและลงมติเกี่ยวกับเรื่องร้องขอพิสูจน์สัญชาติเท่านั้น ส่วนการที่มีหนังสือหรือคำสั่งแจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรนั้นเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่กองตรวจคนเข้าเมืองอันสังกัดอยู่กับกรมตำรวจ โจทก์ย่อมฟ้องกรมตำรวจได้.
คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมืองซึ่งเป็นคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งโดย พ.ร.บ. คนเข้าเมืองไม่ใช่บุคคลอันสังกัดขึ้นอยู่กับกรมตำรวจก็ตามมีหน้าที่เพียงพิจารณาและลงมติเกี่ยวกับเรื่องร้องขอพิสูจน์สัญชาติเท่านั้น ส่วนการที่มีหนังสือหรือคำสั่งแจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรนั้นเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่กองตรวจคนเข้าเมืองอันสังกัดอยู่กับกรมตำรวจ โจทก์ย่อมฟ้องกรมตำรวจได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1783/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยโดยการเกิดในประเทศ และอำนาจฟ้องกรมตำรวจกรณีคำสั่งให้ออกนอกราชอาณาจักร
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลแสดงว่าโจทก์เกิดในประเทศไทยมีสัญชาติเป็นไทยให้เพิกถอนคำสั่งที่ให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรไทยจำเลยต่อสู้ว่าโจทก์เป็นคนต่างด้าวเกิดในประเทศจีนเข้ามาในราชอาณาจักรไทยโดยมิได้รับอนุญาต ประเด็นจึงมีว่าโจทก์เป็นคนสัญชาติไทยโดยเกิดในประเทศไทยจริงหรือไม่ ส่วนข้อที่จำเลยอ้างว่าโจทก์เคยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวย่อมขาดจากสัญชาติไทยตาม พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 2)2496 นั้นเป็นกรณีที่เกิดขึ้นเนื่องจากมี กฎหมายซึ่งเพิ่งออกใช้ภายหลังฟ้องจะเท็จจริงประการใดจึงยังไม่เป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยในชั้นนี้
คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมืองซึ่งเป็นคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งโดยพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองไม่ใช่บุคคลอันสังกัดขึ้นอยู่กับกรมตำรวจก็ตาม มีหน้าที่เพียงพิจารณาและลงมติเกี่ยวกับเรื่องร้องขอพิสูจน์สัญชาติเท่านั้น ส่วนการที่มีหนังสือหรือคำสั่งแจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรนั้นเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่กองตรวจคนเข้าเมืองอันสังกัดอยู่กับกรมตำรวจ โจทก์ย่อมฟ้องกรมตำรวจได้
คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมืองซึ่งเป็นคณะบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งโดยพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองไม่ใช่บุคคลอันสังกัดขึ้นอยู่กับกรมตำรวจก็ตาม มีหน้าที่เพียงพิจารณาและลงมติเกี่ยวกับเรื่องร้องขอพิสูจน์สัญชาติเท่านั้น ส่วนการที่มีหนังสือหรือคำสั่งแจ้งให้โจทก์ทราบเพื่อให้โจทก์ออกไปนอกราชอาณาจักรนั้นเป็นการกระทำของเจ้าหน้าที่กองตรวจคนเข้าเมืองอันสังกัดอยู่กับกรมตำรวจ โจทก์ย่อมฟ้องกรมตำรวจได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 977/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยด้วยการรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและการฟ้องคดีไม่ขาดอายุความ
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่บิดาเป็นคนต่างด้าวนั้น เมื่อจำเลยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้ว ย่อมขาดจากสัญชาติไทย ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2496 ม.5 ไม่ ว่าจะได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวก่อนหรือหลังวัน พ.ร.บ.นั้นใช้บังคับ
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) 2496 ม.5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 96 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 97 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนด ที่ ก.ม. บังคับไว้
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) 2496 ม.5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 96 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 97 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนด ที่ ก.ม. บังคับไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 977/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยหลังได้รับใบสำคัญคนต่างด้าว และอายุความฟ้องร้อง
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่บิดาเป็นคนต่างด้าวนั้น เมื่อจำเลยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้ว ย่อมขาดจากสัญชาติไทย ตาม พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2496 มาตรา 5 ไม่ว่าจะได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวก่อนหรือหลังวัน พระราชบัญญัตินั้นใช้บังคับ
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2)2496 มาตรา 5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 2496 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 2497 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนดที่กฎหมายบังคับไว้
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2)2496 มาตรา 5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 2496 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 2497 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนดที่กฎหมายบังคับไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 658/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยโดยการเกิดในราชอาณาจักร แม้มีใบสำคัญคนต่างด้าวก่อน พ.ร.บ.สัญชาติใหม่ ไม่มีผิดตาม พ.ร.บ.การทะเบียนคนต่างด้าว
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรแต่บิดาเป็นคนต่างด้าว แม้จะได้ขอมีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วก็ตามก็ยังคงเป็นคนไทยอยู่ ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2495 ม.7 จนถึงวันใช้ พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2496 บังคับ ฉนั้นคนเช่นว่านี้แม้จะขาดต่ออายุใบสำคัญประตัวคนต่างด้าวในระหว่างเวลาก่อนใช้ พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2496 จึงไม่มีความผิดตาม พ.ร.บ.การทะเบียนคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2495 ม.4
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 658/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยโดยการเกิดในราชอาณาจักร: การพิจารณาความผิดตามกฎหมายคนต่างด้าวหลังมี พ.ร.บ.สัญชาติใหม่
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรแต่บิดาเป็นคนต่างด้าวแม้จะได้ขอมีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วก็ตามก็ยังคงเป็นคนไทยอยู่ ตาม พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา7 จนถึงวันใช้ พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2496 บังคับ ฉะนั้นคนเช่นว่านี้แม้จะขาดต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวในระหว่างเวลาก่อนใช้ พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2496 จึงไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติการทะเบียนคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2495 มาตรา4
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1741/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยไม่สิ้นสุดเมื่อสมรสกับชาวต่างชาติและไม่ได้สัญชาติสามี
หญิงเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่บิดาเป็นคนต่างด้าว ได้ทำการสมรสกับคนต่างด้าวแต่ไม่ปรากฎว่า ก.ม.ของประเทศสามียอมให้หญิงนั้นเข้าถือเอาสัญชาติของสามีได้ หญิงนั้นย่อมยังเป็นคนสัญชาติไทยอยู่ แม้ว่าจะได้ไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวมาแล้ว ก็เป็นการได้ใบสำคัญมาโดยมิชอบด้วย ก.ม.ไม่มีหน้าที่ต้องไปต่ออายุใบสำคัญนั้นอีก และแม้ถ้าจะถือว่าหญิงนั้นได้ขาดสัญชาติไทยไปตาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2495 ม.16 ทวิ แล้วก็ตามหากหญิงนั้นจะมีผิดก็ย่อมจะเป็นผิดฐานไม่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวตาม พ.ร.บ.การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. 2493 ม.8 ไม่มีผิด ฐานไม่ต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1687/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้สัญชาติจีนตามกฎหมายจีน และผลกระทบต่อสัญชาติไทย
โจทก์นำสืบ กฎหมายจีนโดยนำเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาซึ่งสำเร็จวิชา กฎหมายไทยและเป็นดอกเตอร์ กฎหมายเยอรมันมาเป็นพยานเบิกความว่าพยานได้ทราบ กฎหมายจีนที่อ้างนั้นโดยพยานติดต่อไปทางกระทรวงการต่างประเทศแล้วสถานทูตจีนส่งกฎหมายนั้นมาให้ เช่นนี้ยังถือไม่ได้ว่าเป็นให้การของพยานผู้ชำนาญการพิเศษในเรื่อง กฎหมายจีน