พบผลลัพธ์ทั้งหมด 252 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2581/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีละเมิดและการแบ่งแยกฐานความรับผิดระหว่างเจ้าหน้าที่ทุจริตและผู้กำกับดูแล
คดีอาญาที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ฐานเป็นเจ้าพนักงานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตยักยอกถึงที่สุดแล้วโดยศาลพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 สำหรับจำเลยที่ 4 ให้ยกฟ้องโจทก์ เพราะข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่ 4 ปฏิบัติไปตามระเบียบแบบแผน เช่นนี้ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งซึ่งผู้เสียหายฟ้องจำเลยที่ 4 กับพวกให้ชดใช้เงินดังกล่าวในคดีอาญาคืนฐานละเมิด ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญา โดยจำเลยที่ 4 ไม่ต้องรับผิดในจำนวนเงินที่โจทก์ฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ร่วมกันกระทำการทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินค่าน้ำประปาไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวของจำเลยทั้งสี่ อันหมายถึงว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ทำละเมิดต่อโจทก์โดยเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไปโดยทุจริต เป็นการยึดถือเอาเงินของโจทก์ไว้โดยไม่มีสิทธิ โจทก์ผู้เป็นเจ้าของเงินมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามมาตรา 1336 ประกอบด้วยมาตรา 438 ส่วนคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 6 โจทก์ขอให้รับผิดใช้ค่าเสียหายเพราะปฏิบัติงานด้วยความประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 สมคบกันยักยอกเอาเงินไปได้ จำเลยที่ 5 ที่ 6 มิได้ยึดถือเงินของโจทก์ไว้ หากจะต้องรับผิดต่อโจทก์ก็เป็นความรับผิดในค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรค 2 ซึ่งมีอายุความ 1 ปี ตามมาตรา 448
คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาหาตัวผู้รับผิดทางแพ่งได้รายงานต่ออธิบดีกรมโจทก์ว่า เห็นควรให้จำเลยที่ 5 และที่ 6 ร่วมกันชดใช้นายดำรงรองอธิบดีได้รับทราบรายงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 และสั่งว่า "ปปก.พิจารณาเสนอความเห็น" ลงชื่อ "ดำรง แทน" เช่นนี้มีความหมายว่านายดำรงสั่งแทนอธิบดีและถื่อว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 โจทก์ยื่นฟ้องเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2507 ฟ้องโจทก์ที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 5 ที่ 6 จึงพ้น 1 ปี และขาดอายุความแล้ว
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ร่วมกันกระทำการทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินค่าน้ำประปาไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวของจำเลยทั้งสี่ อันหมายถึงว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ทำละเมิดต่อโจทก์โดยเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไปโดยทุจริต เป็นการยึดถือเอาเงินของโจทก์ไว้โดยไม่มีสิทธิ โจทก์ผู้เป็นเจ้าของเงินมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามมาตรา 1336 ประกอบด้วยมาตรา 438 ส่วนคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 6 โจทก์ขอให้รับผิดใช้ค่าเสียหายเพราะปฏิบัติงานด้วยความประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 สมคบกันยักยอกเอาเงินไปได้ จำเลยที่ 5 ที่ 6 มิได้ยึดถือเงินของโจทก์ไว้ หากจะต้องรับผิดต่อโจทก์ก็เป็นความรับผิดในค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรค 2 ซึ่งมีอายุความ 1 ปี ตามมาตรา 448
คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาหาตัวผู้รับผิดทางแพ่งได้รายงานต่ออธิบดีกรมโจทก์ว่า เห็นควรให้จำเลยที่ 5 และที่ 6 ร่วมกันชดใช้นายดำรงรองอธิบดีได้รับทราบรายงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 และสั่งว่า "ปปก.พิจารณาเสนอความเห็น" ลงชื่อ "ดำรง แทน" เช่นนี้มีความหมายว่านายดำรงสั่งแทนอธิบดีและถื่อว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 โจทก์ยื่นฟ้องเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2507 ฟ้องโจทก์ที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 5 ที่ 6 จึงพ้น 1 ปี และขาดอายุความแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2581/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องละเมิดและการรับผิดของเจ้าหน้าที่ต่อการยักยอกเงิน, การพิจารณาความรับผิดตามหลักฐานในคดีอาญา
คดีอาญาที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ฐานเป็นเจ้าพนักงานละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตยักยอกถึงที่สุดแล้วโดยศาลพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ถึงที่ 3 สำหรับจำเลยที่ 4 ให้ยกฟ้องโจทก์ เพราะข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่ 4 ปฏิบัติไปตามระเบียบแบบแผน เช่นนี้ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งซึ่งผู้เสียหายฟ้องจำเลยที่ 4 กับพวกให้ชดใช้เงินดังกล่าวในคดีอาญาคืนฐานละเมิด ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญา โดยจำเลยที่ 4 ไม่ต้องรับผิดในจำนวนเงินที่โจทก์ฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ร่วมกันกระทำการทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินค่าน้ำประปาไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวของจำเลยทั้งสี่ อันหมายถึงว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ทำละเมิดต่อโจทก์โดยเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไปโดยทุจริต เป็นการยึดถือเอาเงินของโจทก์ไว้โดยไม่มีสิทธิ โจทก์ผู้เป็นเจ้าของเงินมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามมาตรา 1336 ประกอบด้วยมาตรา 438 ส่วนคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 6 โจทก์ขอให้รับผิดใช้ค่าเสียหายเพราะปฏิบัติงานด้วยความประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 สมคบกันยักยอกเอาเงินไปได้ จำเลยที่ 5 ที่ 6 มิได้ยึดถือเงินของโจทก์ไว้ หากจะต้องรับผิดต่อโจทก์ก็เป็นความรับผิดในค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรค 2 ซึ่งมีอายุความ 1 ปี ตามมาตรา 448
คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาหาตัวผู้รับผิดทางแพ่งได้รายงานต่ออธิบดีกรมโจทก์ว่า เห็นควรให้จำเลยที่ 5 และที่ 6 ร่วมกันชดใช้นายดำรงรองอธิบดีได้รับทราบรายงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 และสั่งว่า "ปปก.พิจารณาเสนอความเห็น"ลงชื่อ "ดำรง แทน" เช่นนี้ มีความหมายว่านายดำรงสั่งแทนอธิบดีและถือว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 โจทก์ยื่นฟ้องเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2507 ฟ้องโจทก์ที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 5 ที่ 6 จึงพ้น 1 ปี และขาดอายุความแล้ว
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ร่วมกันกระทำการทุจริตเบียดบังยักยอกเอาเงินค่าน้ำประปาไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวของจำเลยทั้งสี่ อันหมายถึงว่าจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 ได้ทำละเมิดต่อโจทก์โดยเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไปโดยทุจริต เป็นการยึดถือเอาเงินของโจทก์ไว้โดยไม่มีสิทธิ โจทก์ผู้เป็นเจ้าของเงินมีสิทธิติดตามเอาคืนได้ตามมาตรา 1336 ประกอบด้วยมาตรา 438 ส่วนคดีสำหรับจำเลยที่ 5 และที่ 6 โจทก์ขอให้รับผิดใช้ค่าเสียหายเพราะปฏิบัติงานด้วยความประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 สมคบกันยักยอกเอาเงินไปได้ จำเลยที่ 5 ที่ 6 มิได้ยึดถือเงินของโจทก์ไว้ หากจะต้องรับผิดต่อโจทก์ก็เป็นความรับผิดในค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 วรรค 2 ซึ่งมีอายุความ 1 ปี ตามมาตรา 448
คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาหาตัวผู้รับผิดทางแพ่งได้รายงานต่ออธิบดีกรมโจทก์ว่า เห็นควรให้จำเลยที่ 5 และที่ 6 ร่วมกันชดใช้นายดำรงรองอธิบดีได้รับทราบรายงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 และสั่งว่า "ปปก.พิจารณาเสนอความเห็น"ลงชื่อ "ดำรง แทน" เช่นนี้ มีความหมายว่านายดำรงสั่งแทนอธิบดีและถือว่าโจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทนเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2506 โจทก์ยื่นฟ้องเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2507 ฟ้องโจทก์ที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 5 ที่ 6 จึงพ้น 1 ปี และขาดอายุความแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2322/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่เจ้าหน้าที่เวนคืนและการผูกพันตามสัญญาค่าทดแทนที่ดิน
พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายนครสวรรค์ - ตากฯ พ.ศ.2509 บัญญัติให้อธิบดีกรมทางหลวงเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อนายกรัฐมนตรีในฐานะผู้บังคับบัญชาสูงสุดของกรมทางหลวงจำเลยที่ 1 ได้แต่งตั้งกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ที่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นจึงเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 ในฐานะอธิบดีกรมทางหลวงและเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้
กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยเจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนให้ตกลงกันในเรื่องจำนวนเงินค่า ทดแทนตามมาตรา 18, 22, 25, 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 จึงเห็นได้ว่ากรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ย่อมมีหน้าที่กำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนให้แก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนด้วย
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ประชุมกำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนให้แก่โจทก์ ตารางวาละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 399,000 บาท โจทก์ตกลงยอมรับ และคณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กับโจทก์ได้ทำสัญญาจ่ายเงินค่าทดแทนกันไว้แล้ว กรมทางหลวงจำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่โจทก์ตามนั้น จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ยังไม่ได้อนุมัติตามข้อตกลง และยับยั้งไม่จ่ายเงินดังกล่าวหาได้ไม่
กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยเจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนให้ตกลงกันในเรื่องจำนวนเงินค่า ทดแทนตามมาตรา 18, 22, 25, 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 จึงเห็นได้ว่ากรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ย่อมมีหน้าที่กำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนให้แก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนด้วย
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ประชุมกำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนให้แก่โจทก์ ตารางวาละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 399,000 บาท โจทก์ตกลงยอมรับ และคณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กับโจทก์ได้ทำสัญญาจ่ายเงินค่าทดแทนกันไว้แล้ว กรมทางหลวงจำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่โจทก์ตามนั้น จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ยังไม่ได้อนุมัติตามข้อตกลง และยับยั้งไม่จ่ายเงินดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2322/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่เจ้าหน้าที่เวนคืนและผลผูกพันสัญญาค่าทดแทน เมื่อเจ้าของที่ดินยอมรับ
พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินสายนครสวรรค์-ตากฯ พ.ศ.2509บัญญัติให้อธิบดีกรมทางหลวงเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อนายกรัฐมนตรีในฐานะผู้บังคับบัญชาสูงสุดของกรมทางหลวงจำเลยที่ 1 ได้แต่งตั้งกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ที่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นจึงเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 ในฐานะอธิบดีกรมทางหลวงและเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้
กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยเจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนให้ตกลงกันในเรื่องจำนวนเงินค่าทดแทนตามมาตรา18,22,25, 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 จึงเห็นได้ว่ากรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ย่อมมีหน้าที่กำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนให้แก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนด้วย
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ประชุมกำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนให้แก่โจทก์ตารางวาละ 1000 บาท รวมเป็นเงิน 399,000 บาท โจทก์ตกลงยอมรับ และคณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กับโจทก์ได้ทำสัญญาจ่ายเงินค่าทดแทนกันไว้แล้ว กรมทางหลวงจำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่โจทก์ตามนั้น จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ยังไม่ได้อนุมัติตามข้อตกลง และยับยั้งไม่จ่ายเงินดังกล่าวหาได้ไม่
กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มีหน้าที่ไกล่เกลี่ยเจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนให้ตกลงกันในเรื่องจำนวนเงินค่าทดแทนตามมาตรา18,22,25, 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 จึงเห็นได้ว่ากรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ย่อมมีหน้าที่กำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนให้แก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืนด้วย
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน กรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ประชุมกำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนให้แก่โจทก์ตารางวาละ 1000 บาท รวมเป็นเงิน 399,000 บาท โจทก์ตกลงยอมรับ และคณะกรรมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์กับโจทก์ได้ทำสัญญาจ่ายเงินค่าทดแทนกันไว้แล้ว กรมทางหลวงจำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่โจทก์ตามนั้น จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ยังไม่ได้อนุมัติตามข้อตกลง และยับยั้งไม่จ่ายเงินดังกล่าวหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2890-2891/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาความผิดทางอาญา: การกระทำที่ขาดเจตนาเนื่องจากความเข้าใจผิดจากเจ้าหน้าที่
หลังจากทางราชการเข้าไปรังวัดเขตป่าสงวนแห่งชาติแล้วทางราชการมิได้แจ้งหรือฟ้องขับไล่ให้จำเลยออกจากป่าสงวนแห่งชาติ แต่กลับออกประกาศกำหนดให้ผู้ครอบครองที่ดินแจ้งการครอบครองเพื่อจะพิจารณาสอบสิทธิของผู้ครอบครองที่ดิน จำเลยก็ยื่นคำร้องว่าตนมีสิทธิในที่ดินที่ครอบครองภายในกำหนด นอกจากนี้ทางราชการยังเรียกประชุมราษฎรห้ามมิให้บุกเบิกป่าสงวนแห่งชาติต่อไป คงให้ทำกินเฉพาะที่ทำกินอยู่แล้วจึงทำให้จำเลยเชื่อว่าตนมีสิทธิทำกินในที่ดินที่ตนยึดถือครอบครองอยู่จนกว่าทางราชการจะสอบสิทธิของจำเลยเสร็จและแจ้งผลการสอบสิทธิให้จำเลยทราบว่าจำเลยไม่มีสิทธิในที่ดินดังกล่าว แต่ไม่ปรากฏว่าต่อมาทางราชการแจ้งผลการสอบสิทธิว่าจำเลยไม่มีสิทธิในที่ดิน ที่จำเลยยึดถือครอบครองอยู่แต่อย่างใด การกระทำของจำเลยจึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิด จำเลยจึงไม่มีความผิดดังฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 225/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารรับรองโดยเจ้าหน้าที่: สันนิษฐานว่าเป็นหลักฐานแท้จริง
สำเนาทะเบียนบ้านซึ่งเจ้าหน้าที่รับรองว่ามารดาจำเลยคือเจ้ามรดก เอกสารนี้กฎหมายสันนิษฐานว่าแท้จริงและถูกต้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2223/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแจ้งผลคำวินิจฉัยอุทธรณ์ภาษี: ถือว่าแจ้งแล้วเมื่อส่งถึงสำนักงานใหญ่และเจ้าหน้าที่รับ
คนยามซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทโจทก์ได้รับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ไว้จากบุรุษไปรษณีย์ ณ สำนักงานใหญ่ที่บริษัทโจทก์ได้จดทะเบียนไว้เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2513 ดังนี้ ถือว่าบริษัทโจทก์ได้รับแจ้งคำวินิจฉัยอุทธรณ์ตามความในประมวลรัษฎากร มาตรา 30(2) ในวันนั้นแล้ว พฤติการณ์ต่าง ๆ ที่โจทก์นำสืบซึ่งทำให้ที่ปรึกษาากฎหมายของโจทก์ได้รับเอกสารดังกล่าวในวันที่ 1 กันยายน 2513 นั้น เป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับเจ้าหน้าที่ของตนจะนำมาใช้ยันต่อจำเลยหาได้ไม่ เมื่อโจทก์นำคดีมาฟ้องในวันที่ 30 กันยายน 2513 เกินกำหนด 30วัน คดีโจทก์จึงต้องห้ามตามมาตรา 30(2) แห่งประมวลกฎหมายรัษฎากร โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1569/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานปลอมและใช้เอกสารปลอม รวมถึงความผิดต่อเจ้าหน้าที่ การพิจารณาความผิดต้องดูที่ผู้เสียหายและข้อเท็จจริง
การกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้องเป็นความผิดอาญาอันจะลงโทษจำเลยตามบทกฎหมายที่โจทก์อ้างมาท้ายคำฟ้องได้หรือไม่ เป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้อง ไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป.จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือทราบแล้วว่าวัด ป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าว เป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลย ทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
เมื่อการกระทำของจำเลยตามที่โจทก์บรรยายมาในฟ้อง ไม่เป็นความผิดทางอาญา ศาลก็หาจำต้องไต่สวนมูลฟ้องเพื่อฟังข้อเท็จจริงต่อไปอีกไม่
จำเลยเป็นผู้ทำและลงลายมือชื่อของตนเองลงในหนังสือมอบอำนาจให้ ว. ไวยาวัจกรดำเนินคดีฟ้องแทนวัด ป. ซึ่งจำเลยเป็นเจ้าอาวาสอยู่ ซึ่งการทำเอกสารอยู่ในอำนาจหน้าที่ของจำเลยที่จะทำได้ในฐานเป็นเจ้าอาวาส แม้วัด ป.จะมีฐานะเป็น นิติบุคคลหรือไม่ก็ตาม เอกสารดังกล่าวก็เป็นของจำเลยเองมิได้ปลอมหนังสือมอบอำนาจของผู้หนึ่งผู้ใด การกระทำของจำเลยจึงไม่มีมูลความผิดฐานปลอมเอกสาร และเมื่อนำไปใช้ ย่อมไม่มีมูลความผิดฐานใช้เอกสารปลอม
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงาน ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และโดยทุจริต กล่าวคือทราบแล้วว่าวัด ป.ไม่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวัดโดยชอบด้วยกฎหมายได้ร่วมกับจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำหนังสือถึงนายอำเภอเพื่อขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัด ป. โดยจำเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผู้กรอกข้อความ เจตนาไม่กรอกข้อความในช่องข้อหนึ่งในแบบรายงานที่ว่า เป็นวัดที่ได้รับอนุมัติให้ตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการและกรรมการมหาเถรสมาคมแล้ว อันเป็นสารสำคัญในการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วจำเลยที่ 1 ในฐานผู้มีหน้าที่ตรวจข้อความ ไม่ตรวจข้อความดังกล่าว เป็นเหตุให้วัด ป.ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และเป็นส่วนหนึ่งที่ศาลอุทธรณ์เชื่อว่าวัด ป. เป็นนิติบุคคล ทั้งนี้ จำเลยทั้งสามมีเจตนาทุจริตเพื่อให้วัด ป. ได้ที่ดินของวัดโจทก์การกระทำของจำเลย ทำให้วัดโจทก์เสียหาย ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 นั้น หากจะถือว่าเป็นความผิด ผู้ได้รับความเสียหายก็คือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจในการพิจารณาเรื่องราวที่ยื่นนั้น หาใช่โจทก์ไม่โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1542-1543/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานยักยอกเงินของเจ้าหน้าที่: การกำหนดความรับผิดของเจ้าพนักงานและลูกจ้าง
เดิมโจทก์ฟ้องจำเลยทั้งสองเป็นสำนวนเดียวกัน จำเลยที่ 2 ให้การรับสารภาพศาลชั้นต้นสั่งให้โจทก์แยกฟ้องจำเลยที่ 1 เป็นสำนวนใหม่ ต่อมาคู่ความฎีกาทั้งสองสำนวน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่าคดีทั้งสองสำนวนนี้เกี่ยวพันกัน ย่อมให้รวมการพิจารณาพิพากษาคดีทั้งสองสำนวนเข้าด้วยกันได้เพื่อสะดวกแก่การพิจารณา
จำเลยที่ 1 รับราชการในตำแหน่งผู้ช่วยพยาบาล จำเลยที่ 2 เป็นลูกจ้างรายวันทำงานอยู่ที่แผนกเภสัชกรรมของโรงพยาบาลเดียวกันจำเลยที่ 1 มีหน้าที่คิดราคายา และเขียนราคายาลงในใบสั่งยาจำหน่ายยาให้คนไข้ เมื่อเจ้าหน้าที่ออกใบเสร็จรับเงินแล้ว จำเลยที่ 1 มีหน้าที่มอบใบเสร็จรับเงินและยาให้แก่คนไข้ และมีหน้าที่ควบคุมดูแลการออกใบเสร็จรับเงินและสำเนาให้ตรงตามใบสั่งยา เมื่อรับเงินค่าจำหน่ายยาแล้ว จำเลยที่ 2 มีหน้าที่เก็บรักษาไว้เพื่อส่งให้แก่เจ้าหน้าที่การเงิน เวลาจำเลยที่ 2 ไม่อยู่ ถ้าจำเลยที่ 1ช่วยเขียนใบเสร็จรับเงินก็ต้องมอบเงินให้แก่จำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 2กลับมา จำเลยทั้งสองร่วมกันทำสำเนาใบเสร็จรับเงินโดยลงจำนวนเงินราคายาน้อยกว่าราคาที่จำหน่ายไปจริง แล้วร่วมกันยักยอกเอาเงินที่เกินกว่าจำนวนในสำเนาใบเสร็จ ดังนี้ จำเลยที่ 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 เท่านั้น เพราะจำเลยที่ 1 มิได้มีหน้าที่รักษาเงิน ส่วนจำเลยที่ 2 นั้น แม้จะรับสารภาพตามฟ้องว่ากระทำผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานเบียดบังเงินซึ่งมีหน้าที่รักษาไว้ แต่เมื่อรวมการพิจารณาแล้ว ศาลฎีกาฟังว่าจำเลยที่ 1 มิได้มีหน้าที่รักษาเงินจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามมาตรา 352 เท่านั้นเหมือนกัน
จำเลยที่ 1 รับราชการในตำแหน่งผู้ช่วยพยาบาล จำเลยที่ 2 เป็นลูกจ้างรายวันทำงานอยู่ที่แผนกเภสัชกรรมของโรงพยาบาลเดียวกันจำเลยที่ 1 มีหน้าที่คิดราคายา และเขียนราคายาลงในใบสั่งยาจำหน่ายยาให้คนไข้ เมื่อเจ้าหน้าที่ออกใบเสร็จรับเงินแล้ว จำเลยที่ 1 มีหน้าที่มอบใบเสร็จรับเงินและยาให้แก่คนไข้ และมีหน้าที่ควบคุมดูแลการออกใบเสร็จรับเงินและสำเนาให้ตรงตามใบสั่งยา เมื่อรับเงินค่าจำหน่ายยาแล้ว จำเลยที่ 2 มีหน้าที่เก็บรักษาไว้เพื่อส่งให้แก่เจ้าหน้าที่การเงิน เวลาจำเลยที่ 2 ไม่อยู่ ถ้าจำเลยที่ 1ช่วยเขียนใบเสร็จรับเงินก็ต้องมอบเงินให้แก่จำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 2กลับมา จำเลยทั้งสองร่วมกันทำสำเนาใบเสร็จรับเงินโดยลงจำนวนเงินราคายาน้อยกว่าราคาที่จำหน่ายไปจริง แล้วร่วมกันยักยอกเอาเงินที่เกินกว่าจำนวนในสำเนาใบเสร็จ ดังนี้ จำเลยที่ 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 เท่านั้น เพราะจำเลยที่ 1 มิได้มีหน้าที่รักษาเงิน ส่วนจำเลยที่ 2 นั้น แม้จะรับสารภาพตามฟ้องว่ากระทำผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานเบียดบังเงินซึ่งมีหน้าที่รักษาไว้ แต่เมื่อรวมการพิจารณาแล้ว ศาลฎีกาฟังว่าจำเลยที่ 1 มิได้มีหน้าที่รักษาเงินจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดตามมาตรา 352 เท่านั้นเหมือนกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 206/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำแนกความผิดระหว่างลักทรัพย์กับยักยอกทรัพย์ กรณีเจ้าหน้าที่จ่ายน้ำมันเกินจำนวน
จำเลยเป็นลูกจ้างของบริษัทค้าน้ำมัน มีหน้าที่เพียงจ่ายหรือเติมน้ำมันให้แก่ผู้ที่นำใบสั่งจ่ายมายื่นเท่านั้น น้ำมันเก็บรักษาไว้ในคลังน้ำมันซึ่งมีผู้อื่นเป็นผู้จัดการ ดังนี้ ไม่ถือว่าจำเลยเป็นผู้ครอบครองน้ำมัน เมื่อจำเลยจ่ายน้ำมันเกินกว่าจำนวนตามใบสั่งแล้วเอาน้ำมันที่จ่ายเกินนั้นไปโดยทุจริต ย่อมมีความผิดฐานลักทรัพย์ไม่ใช่ยักยอก