พบผลลัพธ์ทั้งหมด 293 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3067/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีจากการไม่ทำบัญชีคุมสินค้า แม้ได้รับการส่งเสริมการลงทุน และการยกเว้นตามประกาศ
โจทก์ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปส่งจำหน่ายต่างประเทศซึ่งเป็นการประกอบการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 1(ก) ตามบัญชีอัตราภาษีการค้าเมื่อโจทก์มีสินค้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปคงเหลือ ณ โรงงานของโจทก์โดยโจทก์ไม่ทำบัญชีคุมสินค้าตามมาตรา 83 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากรแม้โจทก์จะได้รับการส่งเสริมการลงทุนสำหรับสินค้าที่ส่งออกโจทก์ก็ไม่ได้รับยกเว้นการทำบัญชีคุมสินค้าตามมาตรา 83 ทวิ วรรค 2แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อโจทก์ไม่ทำบัญชีคุมสินค้าจึงถือว่าเป็นการขายสินค้านั้นโดยถือมูลค่าของสินค้าดังกล่าวเป็นรายรับตามมาตรา 79 ทวิ(6) แห่งประมวลรัษฎากร โจทก์ต้องเสียภาษีการค้าเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และภาษีบำรุงเทศบาลตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2877/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
น้ำนมถั่วเหลืองแลคตาซอยไม่ใช่ 'อาหาร' แต่เป็น 'เครื่องดื่ม' จึงได้รับการยกเว้นภาษีการค้าตาม พ.ร.ก. ลดหย่อนภาษี
ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่ 54) พ.ศ. 2517มิได้ให้ความหมายของคำว่าอาหารหรือเครื่องดื่มไว้ จึงต้องถือตามความหมายทั่วไปของคำดังกล่าว จะถือตามความหมายของกฎหมายอื่นไม่ได้ น้ำนมถั่วเหลืองแลคตาซอยไม่ใช่ของกินที่มีลักษณะเพื่อค้ำจุนชีวิตหรือเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตจึงไม่ใช่อาหาร แต่เป็นเครื่องดื่มเพราะสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำ แม้จะมีส่วนผสมคือ ถั่วเหลือง น้ำตาล นมผง และไขมันพืชอยู่ด้วยถึงร้อยละ21.2 และมีคำว่า "อาหารเสริม" อยู่ที่กล่องบรรจุก็ตาม ก็แสดงเพียงว่าเป็นเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของอาหารอยู่ด้วยเท่านั้นไม่ใช่ "อาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหาร" ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(4)(ข)ท้ายพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว และไม่เป็น "อาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตจากแป้งหรือถั่ว" ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(10) ด้วยโจทก์ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำนมถั่วเหลืองแลคตาซอยจึงได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามมาตรา 5(8) แห่งพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2877/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำแนกประเภทสินค้า (น้ำนมถั่วเหลือง) เพื่อการยกเว้นภาษีการค้า พิจารณาจากลักษณะการบริโภคและส่วนประกอบ
ตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่54) พ.ศ. 2517 มิได้ให้ความหมายของคำว่าอาหารหรือเครื่องดื่มไว้ จึงต้องถือตามความหมายทั่วไปของคำดังกล่าวจะถือตามความหมายของกฎหมายอื่นไม่ได้ น้ำนมถั่วเหลืองแลคตาซอยไม่ใช่ของกินที่มีลักษณะเพื่อค้ำจุนชีวิตหรือเป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตจึงไม่ใช่อาหารแต่เป็นเครื่องดื่มเพราะสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำ แม้จะมีส่วนผสมคือ ถั่วเหลือง น้ำตาล นมผง และไขมันพืชอยู่ด้วยถึงร้อยละ 21.2 และมีคำว่า 'อาหารเสริม' อยู่ที่กล่องบรรจุก็ตาม ก็แสดงเพียงว่าเป็นเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของอาหารอยู่ด้วยเท่านั้น ไม่ใช่ 'อาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหาร' ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(4) ข ท้ายพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว และไม่เป็น 'อาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตจากแป้งหรือถั่ว'ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(10) ด้วย โจทก์ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำนมถั่วเหลืองแลคตาซอยจึงได้รับยกเว้นภาษีการค้าตามมาตรา 5(8) แห่งพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2353/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีการค้าเมื่อผู้เสียภาษีไม่ส่งเอกสารประกอบการตรวจสอบ
โจทก์มีบัญชีทั้งหมด 3 เล่ม คือ บัญชีเงินสด บัญชีแยกประเภทและบัญชีรายรับทั่วไป เมื่อเจ้าพนักงานประเมินออกหมายเรียกให้โจทก์นำบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไปเพื่อตรวจสอบ โจทก์คงส่งแต่เพียงบัญชีเงินสด เอกสารใบสำคัญคู่จ่ายสัญญารับเหมาก่อสร้าง สำเนาแบบเสียภาษีการค้าและสำเนาใบเสร็จรับเงินโดยไม่ยอมส่งบัญชีพร้อมทั้งหลักฐานและเอกสารประกอบการลงบัญชีอย่างอื่นให้เจ้าพนักงานประเมินทำการตรวจสอบไต่สวนซึ่งไม่เพียงพอแก่การตรวจสอบ เจ้าพนักงานประเมินจึงมีอำนาจประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลของโจทก์ในอัตราร้อยละ 5ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายตามมาตรา 71(1) แห่งประมวลรัษฎากรได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2302/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อยกเว้นภาษีการค้าส่งออก: สินค้าที่ผ่านการถลุงและผสมโลหะ ไม่ถือเป็นแร่ตามบัญชีอัตราภาษี
ตามบัญชีอัตราภาษีการค้าท้ายประมวลรัษฎากร ในประเภทการค้าที่ 1 ที่กำหนดให้ผู้ส่งออกเป็นผู้เสียภาษีการค้าดังที่ระบุไว้ในชนิด 8 (ก) นั้น กำหนดเฉพาะสินค้าที่ยังมีสภาพเป็นแร่อยู่ และยังระบุข้อยกเว้นไว้ชัดว่าไม่ให้รวมถึงวัตถุประดิษฐ์จากแร่อันต้องเสียภาษีตามอัตราในชนิด 1 อีกด้วย
โจทก์ส่งออกสินค้าพิพาทซึ่งเป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงมาจากแร่และยังมีการผสมระหว่างดีบุกกับตะกั่วอีกชั้นหนึ่งจึงมิใช่เป็นแร่โลหะหรือสินแร่โลหะตามความหมายในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 8 (ก) โจทก์จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้าสำหรับสินค้าพิพาท
โจทก์ส่งออกสินค้าพิพาทซึ่งเป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงมาจากแร่และยังมีการผสมระหว่างดีบุกกับตะกั่วอีกชั้นหนึ่งจึงมิใช่เป็นแร่โลหะหรือสินแร่โลหะตามความหมายในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 8 (ก) โจทก์จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้าสำหรับสินค้าพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2302/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีการค้าแร่: สินค้าที่ผ่านการถลุงและผสมแล้ว ไม่ต้องเสียภาษีการค้าในฐานะแร่
ตามบัญชีอัตราภาษีการค้าท้ายประมวลรัษฎากรในประเภทการค้าที่ 1 ที่กำหนดให้ผู้ส่งออกเป็นผู้เสียภาษีการค้าดังที่ระบุไว้ในชนิด 8(ก) นั้น กำหนดเฉพาะสินค้าที่ยังมีสภาพเป็นแร่อยู่และยังระบุข้อยกเว้นไว้ชัดว่าไม่ให้รวมถึงวัตถุประดิษฐ์จากแร่อันต้องเสียภาษีตามอัตราในชนิด 1 อีกด้วย โจทก์ส่งออกสินค้าพิพาทซึ่งเป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงมาจากแร่และยังมีการผสมระหว่างดีบุก กับตะกั่วอีกชั้นหนึ่งจึงมิใช่เป็นแร่โลหะหรือสินแร่โลหะตามความหมายในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 8(ก) โจทก์จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้าสำหรับสินค้าพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2302/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อยกเว้นภาษีการค้าสำหรับสินค้าส่งออกที่เป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงแล้ว มิใช่แร่หรือสินแร่
ตามบัญชีอัตราภาษีการค้าท้ายประมวลรัษฎากร ในประเภทการค้าที่ 1 ที่กำหนดให้ผู้ส่งออกเป็นผู้เสียภาษีการค้าดังที่ระบุไว้ในชนิด 8(ก) นั้น กำหนดเฉพาะสินค้าที่ยังมีสภาพเป็นแร่อยู่ และยังระบุข้อยกเว้นไว้ชัดว่าไม่ให้รวมถึงวัตถุประดิษฐ์จากแร่อันต้องเสียภาษีตามอัตราในชนิด 1 อีกด้วย
โจทก์ส่งออกสินค้าพิพาทซึ่งเป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงมาจากแร่และยังมีการผสมระหว่างดีบุกกับตะกั่วอีกชั้นหนึ่งจึงมิใช่เป็นแร่โลหะหรือสินแร่โลหะตามความหมายในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 8(ก) โจทก์จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้าสำหรับสินค้าพิพาท.
โจทก์ส่งออกสินค้าพิพาทซึ่งเป็นโลหะผสมที่ผ่านการถลุงมาจากแร่และยังมีการผสมระหว่างดีบุกกับตะกั่วอีกชั้นหนึ่งจึงมิใช่เป็นแร่โลหะหรือสินแร่โลหะตามความหมายในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 1 ชนิด 8(ก) โจทก์จึงไม่ต้องเสียภาษีการค้าสำหรับสินค้าพิพาท.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2168/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อหากำไรถือเป็นการค้า ต้องเสียภาษีเงินได้และภาษีการค้า
โจทก์ขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร จึงเป็นผู้ประกอบการค้าตามประมวลรัษฎากร มาตรา 78 และบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 11 โจทก์ต้องเสียภาษีการค้า
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40 (8) นั้น หมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40 (1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (8)
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40 (8) นั้น หมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40 (1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2168/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อหากำไร ถือเป็นการค้า ต้องเสียภาษีการค้าและภาษีเงินได้
โจทก์ขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร จึงเป็นผู้ประกอบการค้าตามประมวลรัษฎากร มาตรา 78 และบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 11 โจทก์ต้องเสียภาษีการค้า
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40(8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(8) นั้นหมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(8).
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40(8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(8) นั้นหมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(8).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1723-1746/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเป็นนายหน้าและหน้าที่ในการเสียภาษีการค้า แม้จะกระทำเพียงครั้งเดียว
โจทก์ชี้ชวนให้ผู้มีชื่อมาซื้อหุ้นของธนาคาร ก. และบุคคลเหล่านี้ได้ซื้อหุ้นดังกล่าวตามที่โจทก์ชี้ชวน โดยโจทก์ได้รับค่าธรรมเนียมเป็นบำเหน็จการชี้ชวนเป็นเงินจำนวนหนึ่ง โจทก์จึงเป็นนายหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 และถือได้ว่าเป็นผู้ประกอบการค้า มีหน้าที่เสียภาษีการค้าและจดทะเบียนการค้า
บทบัญญัติมาตรา 89 และ 89 ทวิ เป็นบทบังคับที่ไม่ต้องพิจารณาว่า ผู้ประกอบการค้ามีเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีการค้าหรือไม่ โจทก์ไม่ชำระภาษีการค้าภายในกำหนดเวลา โจทก์ต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 และ 89 ทวิ.
บทบัญญัติมาตรา 89 และ 89 ทวิ เป็นบทบังคับที่ไม่ต้องพิจารณาว่า ผู้ประกอบการค้ามีเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีการค้าหรือไม่ โจทก์ไม่ชำระภาษีการค้าภายในกำหนดเวลา โจทก์ต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามประมวลรัษฎากร มาตรา 89 และ 89 ทวิ.