พบผลลัพธ์ทั้งหมด 232 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3206/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วิธีคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายสำหรับผู้เข้าทำงาน/ได้เงินเดือนขึ้นระหว่างปี ต้องคำนวณจากเงินได้ที่ได้รับจริง
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามประมวลรัษฎากรมาตรา 50(1) สำหรับผู้มีเงินได้ที่เข้าทำงานระหว่างปี หรือได้รับเงินเดือนขึ้นระหว่างปีนั้น ให้นำเงินเดือนเริ่มตั้งแต่เดือนที่จ่ายคำนวณล่วงหน้าจนถึงสิ้นปี เป็นเงินได้พึงประเมินสำหรับคำนวณภาษีตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ หากมีการจ่ายเงินโบนัสก็จะนำเงินโบนัสรวมกับเงินเดือนที่จ่ายเป็นเงินได้พึงประเมินสำหรับคำนวณภาษีด้วย แล้วหารด้วยจำนวนเดือนที่จ่ายหักไว้เป็นภาษีแต่ละเดือน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3206/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายสำหรับพนักงานที่เข้าทำงาน/ได้ขึ้นเงินเดือนระหว่างปี ต้องคำนวณจากเงินได้ที่ได้รับจริงเท่านั้น
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามประมวลรัษฎากรมาตรา 50(1) สำหรับผู้มีเงินได้ที่เข้าทำงานระหว่างปีหรือได้รับเงินเดือนขึ้นระหว่างปีนั้น ให้นำเงินเดือนเริ่มตั้งแต่เดือนที่จ่ายคำนวณล่วงหน้าจนถึงสิ้นปี เป็นเงินได้พึงประเมินสำหรับคำนวณภาษีตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ หากมีการจ่ายเงินโบนัสก็จะนำเงินโบนัสรวมกับเงินเดือนที่จ่ายเป็นเงินได้พึงประเมินสำหรับคำนวณภาษีด้วย แล้วหารด้วยจำนวนเดือนที่จ่ายหักไว้เป็นภาษีแต่ละเดือน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2956/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีตัวแทนจำหน่ายสินค้าต่างประเทศ และการจำหน่ายเงินกำไรออกนอกประเทศ
แม้จำเลยมิได้ส่งสำเนาเอกสารที่ระบุเพิ่มเติมให้โจทก์ก่อนวันสืบพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 90 แต่ศาลชั้นต้นก็อนุญาตให้โจทก์เลื่อนการถามค้านพยานบุคคลของจำเลยไปเพื่อให้โจทก์ได้ตรวจสอบเอกสารที่จำเลยระบุเพิ่มเติมก่อน จึงไม่ทำให้โจทก์เสียเปรียบในเชิงคดีแต่อย่างใดทั้งเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลก็มีอำนาจรับฟังพยานหลักฐานดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87 (2) การที่ศาลรับฟังพยานหลักฐานดังกล่าวจึงชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์เป็นผู้แนะนำรายชื่อบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทย และได้รับค่านายหน้าจากบริษัทต่างประเทศเป็นการตอบแทนทุกครั้งที่มีการซื้อขายแม้ลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้แก่บริษัทต่างประเทศโดยตรงโดยโจทก์ไม่มีส่วนรับผิดเกี่ยวกับการซื้อขายหรือการชำระค่าสินค้า ก็เห็นได้ว่าการที่บริษัทต่างประเทศสามารถขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยได้เนื่องจากโจทก์เป็นตัวเชื่อมให้ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อกันจึงถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ทำการแทนหรือผู้ทำการติดต่อให้แก่บริษัทซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเกี่ยวกับการขายสินค้า เมื่อบริษัทต่างประเทศได้รับชำระค่าสินค้าย่อมมีเงินได้หรือผลกำไรรวมอยู่ด้วย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 76 ทวิ
ประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เสียก่อน แล้วจึงจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ต่อศาลได้นั้น มิได้บัญญัติว่าการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลจะต้องอ้างเหตุผลเช่นเดียวกับที่อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ จึงอ้างเหตุอื่นเพิ่มเติมจากที่เคยอุทธรณ์ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
ข้อเท็จจริงได้ความเพียงว่าโจทก์เป็นผู้แนะนำบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยที่ต้องการซื้อสินค้า จากนั้นลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้บริษัทต่างประเทศโดยตรง แม้ค่าสินค้าที่ลูกค้าชำระจะมีเงินกำไรรวมอยู่ด้วย แต่โจทก์ก็มิได้เกี่ยวข้องในการส่งเงินไปชำระค่าสินค้า ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงไม่ต้องเสียภาษีตามมาตรา 70 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
การที่โจทก์เป็นผู้แนะนำรายชื่อบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทย และได้รับค่านายหน้าจากบริษัทต่างประเทศเป็นการตอบแทนทุกครั้งที่มีการซื้อขายแม้ลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้แก่บริษัทต่างประเทศโดยตรงโดยโจทก์ไม่มีส่วนรับผิดเกี่ยวกับการซื้อขายหรือการชำระค่าสินค้า ก็เห็นได้ว่าการที่บริษัทต่างประเทศสามารถขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยได้เนื่องจากโจทก์เป็นตัวเชื่อมให้ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อกันจึงถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ทำการแทนหรือผู้ทำการติดต่อให้แก่บริษัทซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเกี่ยวกับการขายสินค้า เมื่อบริษัทต่างประเทศได้รับชำระค่าสินค้าย่อมมีเงินได้หรือผลกำไรรวมอยู่ด้วย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 76 ทวิ
ประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เสียก่อน แล้วจึงจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ต่อศาลได้นั้น มิได้บัญญัติว่าการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลจะต้องอ้างเหตุผลเช่นเดียวกับที่อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ จึงอ้างเหตุอื่นเพิ่มเติมจากที่เคยอุทธรณ์ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
ข้อเท็จจริงได้ความเพียงว่าโจทก์เป็นผู้แนะนำบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยที่ต้องการซื้อสินค้า จากนั้นลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้บริษัทต่างประเทศโดยตรง แม้ค่าสินค้าที่ลูกค้าชำระจะมีเงินกำไรรวมอยู่ด้วย แต่โจทก์ก็มิได้เกี่ยวข้องในการส่งเงินไปชำระค่าสินค้า ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงไม่ต้องเสียภาษีตามมาตรา 70 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2956/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้จากหน้าที่เป็นตัวแทน/นายหน้าต่างประเทศ และข้อยกเว้นตามข้อตกลงภาษีซ้อน
แม้จำเลยมิได้ส่งสำเนาเอกสารที่ระบุเพิ่มเติมให้โจทก์ก่อนวันสืบพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 90แต่ศาลชั้นต้นก็อนุญาตให้โจทก์เลื่อนการถามค้านพยานบุคคลของจำเลยไปเพื่อให้โจทก์ได้ตรวจสอบเอกสารที่จำเลยระบุเพิ่มเติมก่อน จึงไม่ทำให้โจทก์เสียเปรียบในเชิงคดีแต่อย่างใดทั้งเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลก็มีอำนาจรับฟังพยานหลักฐานดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87(2) การที่ศาลรับฟังพยานหลักฐานดังกล่าวจึงชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์เป็นผู้แนะนำรายชื่อบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทย และได้รับค่านายหน้าจากบริษัทต่างประเทศเป็นการตอบแทนทุกครั้งที่มีการซื้อขายแม้ลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้แก่บริษัทต่างประเทศโดยตรงโดยโจทก์ไม่มีส่วนรับผิดเกี่ยวกับการซื้อขายหรือการชำระค่าสินค้า ก็เห็นได้ว่าการที่บริษัทต่างประเทศสามารถขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยได้เนื่องจากโจทก์เป็นตัวเชื่อมให้ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อกันจึงถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ทำการแทนหรือผู้ทำการติดต่อให้แก่บริษัทซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเกี่ยวกับการขายสินค้า เมื่อบริษัทต่างประเทศได้รับชำระค่าสินค้าย่อมมีเงินได้หรือผลกำไรรวมอยู่ด้วย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 76 ทวิ
ประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เสียก่อน แล้วจึงจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ต่อศาลได้นั้น มิได้บัญญัติว่าการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลจะต้องอ้างเหตุผลเช่นเดียวกับที่อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ จึงอ้างเหตุอื่นเพิ่มเติมจากที่เคยอุทธรณ์ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
ข้อเท็จจริงได้ความเพียงว่าโจทก์เป็นผู้แนะนำบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยที่ต้องการซื้อสินค้า จากนั้นลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้บริษัทต่างประเทศโดยตรง แม้ค่าสินค้าที่ลูกค้าชำระจะมีเงินกำไรรวมอยู่ด้วย แต่โจทก์ก็มิได้เกี่ยวข้องในการส่งเงินไปชำระค่าสินค้า ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงไม่ต้องเสียภาษีตามมาตรา 70 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
การที่โจทก์เป็นผู้แนะนำรายชื่อบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทย และได้รับค่านายหน้าจากบริษัทต่างประเทศเป็นการตอบแทนทุกครั้งที่มีการซื้อขายแม้ลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้แก่บริษัทต่างประเทศโดยตรงโดยโจทก์ไม่มีส่วนรับผิดเกี่ยวกับการซื้อขายหรือการชำระค่าสินค้า ก็เห็นได้ว่าการที่บริษัทต่างประเทศสามารถขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยได้เนื่องจากโจทก์เป็นตัวเชื่อมให้ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อกันจึงถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ทำการแทนหรือผู้ทำการติดต่อให้แก่บริษัทซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเกี่ยวกับการขายสินค้า เมื่อบริษัทต่างประเทศได้รับชำระค่าสินค้าย่อมมีเงินได้หรือผลกำไรรวมอยู่ด้วย โจทก์จึงมีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 76 ทวิ
ประมวลรัษฎากรที่บัญญัติให้อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เสียก่อน แล้วจึงจะอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ต่อศาลได้นั้น มิได้บัญญัติว่าการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลจะต้องอ้างเหตุผลเช่นเดียวกับที่อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ จึงอ้างเหตุอื่นเพิ่มเติมจากที่เคยอุทธรณ์ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
ข้อเท็จจริงได้ความเพียงว่าโจทก์เป็นผู้แนะนำบริษัทต่างประเทศที่ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศไทยที่ต้องการซื้อสินค้า จากนั้นลูกค้าจะติดต่อทำสัญญาซื้อขายและชำระค่าสินค้าให้บริษัทต่างประเทศโดยตรง แม้ค่าสินค้าที่ลูกค้าชำระจะมีเงินกำไรรวมอยู่ด้วย แต่โจทก์ก็มิได้เกี่ยวข้องในการส่งเงินไปชำระค่าสินค้า ถือไม่ได้ว่าโจทก์เป็นผู้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงไม่ต้องเสียภาษีตามมาตรา 70 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 409/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้กรณีผู้มีเงินได้มิได้ยื่นรายการ หรือ ยื่นรายการต่ำกว่าที่ควร และการเรียกเงินเพิ่ม
แม้จะมีคำสั่งของนายกรัฐมนตรีให้ทรัพย์สินกองมรดกของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ตกเป็นของรัฐ ก็หาเป็นเหตุให้หนี้ค่าภาษีอากรที่ยังไม่ได้ชำระระงับลงไม่ กรมสรรพากรโจทก์มีอำนาจกำหนดเงินได้สุทธิของจอมพลสฤษดิ์แล้วทำการประเมินภาษีเงินได้ กองมรดกต้องรับผิดชำระแก่โจทก์ โจทก์มีอำนาจฟ้อง
การที่เจ้าพนักงานประเมินมีหนังสือแจ้งให้จำเลยชำระภาษีและเงินเพิ่มภาษีภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งการประเมิน มิใช่เป็นการขยายเวลาชำระหนี้ให้แก่จำเลย แต่เป็นการทวงถาม หรือเตือนจำเลยให้ชำระหนี้ และกรณีไม่ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 354,355 และ 203 วรรคสองโจทก์ฟ้องจำเลยได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 โดยไม่จำต้องรอให้ ครบกำหนด 30 วัน นับแต่วันที่จำเลยได้รับ หนังสือแจ้งการประเมินก่อน
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ปัญหาว่าเงินฝากในธนาคารต่าง ๆไม่ใช่เงินฝากของจอมพลสฤษดิ์และท่านผู้หญิง วิจิตรา จำเลยที่ 2 นั้น จำเลยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงไม่เป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยในชั้นอุทธรณ์ จำเลยจะต้องฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ว่า จำเลยยกปัญหาดังกล่าวขึ้นต่อสู้ในคำให้การแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์ไม่วินิจฉัยดังกล่าวจึงไม่ชอบเสียก่อน แล้วจึงฎีกาต่อไปว่าเงินฝาก ในธนาคารดังกล่าว ไม่ใช่เงินฝากของบุคคลทั้งสอง จำเลยฎีกา เพียงว่าเงินฝากในธนาคารต่าง ๆ ไม่ใช่เงินฝากของบุคคลทั้งสอง จึงไม่ชอบ เพราะไม่ได้ฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา ไม่วินิจฉัยให้
เงินค่าใช้จ่ายส่วนตัวและค่าใช้จ่ายในการบริจาคการกุศลเป็นส่วนหนึ่งของเงินได้ เพราะจะต้องมีเงินได้เสียก่อนแล้วจึงจะสามารถนำไปจ่ายได้ การที่เจ้าพนักงานประเมินนำยอดเงินค่าใช้จ่าย ดังกล่าวไปรวมเข้ากับยอดเงินและมูลค่าของทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น แล้วกำหนดจำนวนเงินได้สุทธิจึงเป็นการชอบ
จำเลยที่ 2 เป็นทายาทคนหนึ่งของจอมพลสฤษดิ์ มีหน้าที่แสดงรายการเงินได้ของจอมพลสฤษดิ์ โดยไม่จำต้องรอให้ศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์เสียก่อน
การที่เจ้าพนักงานประเมินมีหนังสือแจ้งให้จำเลยชำระภาษีและเงินเพิ่มภาษีภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือแจ้งการประเมิน มิใช่เป็นการขยายเวลาชำระหนี้ให้แก่จำเลย แต่เป็นการทวงถาม หรือเตือนจำเลยให้ชำระหนี้ และกรณีไม่ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 354,355 และ 203 วรรคสองโจทก์ฟ้องจำเลยได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 194 โดยไม่จำต้องรอให้ ครบกำหนด 30 วัน นับแต่วันที่จำเลยได้รับ หนังสือแจ้งการประเมินก่อน
ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ปัญหาว่าเงินฝากในธนาคารต่าง ๆไม่ใช่เงินฝากของจอมพลสฤษดิ์และท่านผู้หญิง วิจิตรา จำเลยที่ 2 นั้น จำเลยไม่ได้ต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงไม่เป็นประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยในชั้นอุทธรณ์ จำเลยจะต้องฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ว่า จำเลยยกปัญหาดังกล่าวขึ้นต่อสู้ในคำให้การแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์ไม่วินิจฉัยดังกล่าวจึงไม่ชอบเสียก่อน แล้วจึงฎีกาต่อไปว่าเงินฝาก ในธนาคารดังกล่าว ไม่ใช่เงินฝากของบุคคลทั้งสอง จำเลยฎีกา เพียงว่าเงินฝากในธนาคารต่าง ๆ ไม่ใช่เงินฝากของบุคคลทั้งสอง จึงไม่ชอบ เพราะไม่ได้ฎีกาคัดค้านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา ไม่วินิจฉัยให้
เงินค่าใช้จ่ายส่วนตัวและค่าใช้จ่ายในการบริจาคการกุศลเป็นส่วนหนึ่งของเงินได้ เพราะจะต้องมีเงินได้เสียก่อนแล้วจึงจะสามารถนำไปจ่ายได้ การที่เจ้าพนักงานประเมินนำยอดเงินค่าใช้จ่าย ดังกล่าวไปรวมเข้ากับยอดเงินและมูลค่าของทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น แล้วกำหนดจำนวนเงินได้สุทธิจึงเป็นการชอบ
จำเลยที่ 2 เป็นทายาทคนหนึ่งของจอมพลสฤษดิ์ มีหน้าที่แสดงรายการเงินได้ของจอมพลสฤษดิ์ โดยไม่จำต้องรอให้ศาลมีคำสั่งแต่งตั้งผู้จัดการมรดกของจอมพลสฤษดิ์เสียก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3381/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา-นิติบุคคล และการหักค่าเสื่อมราคาจากการเช่าทรัพย์สิน
ส. และ ว. ซึ่งเป็นสามีภริยากันถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนทุนทั้งหมดของบริษัทโจทก์บริษัทโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อย่างบุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร มาตรา 75
บริษัทโจทก์สร้างอาคารราคา 465,981.34 บาท แล้วยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน โดยโจทก์ได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินเป็นเวลา 11 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 150 บาท เป็นสัญญาต่างตอบแทนอันทำให้บริษัทโจทก์ได้รับประโยชน์จากการได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินนั้น ค่าก่อสร้างอาคารจึงเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (5) โจทก์มีสิทธิเพียงหักค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อยละ 100 หารด้วยปีอายุการเช่าตามมาตรา 5 (4)วรรคสอง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2509
บริษัทโจทก์สร้างอาคารราคา 465,981.34 บาท แล้วยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน โดยโจทก์ได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินเป็นเวลา 11 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 150 บาท เป็นสัญญาต่างตอบแทนอันทำให้บริษัทโจทก์ได้รับประโยชน์จากการได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินนั้น ค่าก่อสร้างอาคารจึงเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (5) โจทก์มีสิทธิเพียงหักค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อยละ 100 หารด้วยปีอายุการเช่าตามมาตรา 5 (4)วรรคสอง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2509
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3381/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและการหักค่าเสื่อมราคาจากการเช่าทรัพย์สิน
ส.และว. ซึ่งเป็นสามีภริยากันถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนทุนทั้งหมดของบริษัทโจทก์ บริษัทโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้อย่างบุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร มาตรา 75
บริษัทโจทก์สร้างอาคารราคา 465,981.34 บาท แล้วยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน โดยโจทก์ได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินเป็นเวลา 11 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 150 บาทเป็นสัญญาต่างตอบแทนอันทำให้บริษัทโจทก์ได้รับประโยชน์จากการได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินนั้น ค่าก่อสร้างอาคารจึงเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร มาตรา65 ตรี (5) โจทก์มีสิทธิเพียงหักค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อยละ 100 หารด้วยปีอายุการเช่าตามมาตรา 5(4)วรรคสอง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2509
บริษัทโจทก์สร้างอาคารราคา 465,981.34 บาท แล้วยกกรรมสิทธิ์ให้เจ้าของที่ดิน โดยโจทก์ได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินเป็นเวลา 11 ปี อัตราค่าเช่าเดือนละ 150 บาทเป็นสัญญาต่างตอบแทนอันทำให้บริษัทโจทก์ได้รับประโยชน์จากการได้สิทธิการเช่าอาคารและที่ดินนั้น ค่าก่อสร้างอาคารจึงเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร มาตรา65 ตรี (5) โจทก์มีสิทธิเพียงหักค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อยละ 100 หารด้วยปีอายุการเช่าตามมาตรา 5(4)วรรคสอง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 22) พ.ศ.2509
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1942/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้จากการโอนกิจการและเงินได้ที่ซ่อนเร้น การประเมินและเงินเพิ่ม
เงินที่โจทก์ได้รับจาก อ. เป็นค่าตอบแทนส่วนหนึ่งในการโอนกิจการซื้อขายที่ดินรวมทั้งหนี้สินและทรัพย์สินตามสัญญาจ่ายเงิน 2 ฉบับ อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีเงินได้เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา40(8)
โจทก์ยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินแล้ว แต่เสียภาษีไม่ถูกต้อง และยื่นรายการไม่ครบ โดยไม่ได้นำเงินเดือนที่ได้รับปีละ 6,000 บาท เข้าไปด้วย ตามพฤติการณ์เป็นเรื่องปกปิดรายได้ของตนเพื่อหลีกเลี่ยงให้เสียภาษีน้อยลง จึงไม่สมควรลดเงินเพิ่มให้
โจทก์ยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินแล้ว แต่เสียภาษีไม่ถูกต้อง และยื่นรายการไม่ครบ โดยไม่ได้นำเงินเดือนที่ได้รับปีละ 6,000 บาท เข้าไปด้วย ตามพฤติการณ์เป็นเรื่องปกปิดรายได้ของตนเพื่อหลีกเลี่ยงให้เสียภาษีน้อยลง จึงไม่สมควรลดเงินเพิ่มให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้จากการจ่ายค่าจ้างให้บริษัทต่างประเทศ: เงินค่าจ้างถือเป็นกำไรที่ต้องเสียภาษีตามมาตรา 70 ทวิ ไม่เป็นการเสียภาษีซ้ำซ้อน
โจทก์จ้างบริษัทต่างประเทศเป็นที่ปรึกษา โดยส่งคนมาในประเทศ โจทก์ส่งค่าจ้างไปยังบริษัทต่างประเทศ เงินนี้ถือเป็นเงินกำไร หรือถือเป็นเงินกำไรของบริษัทในต่างประเทศรวมอยู่ด้วย ซึ่งโจทก์ต้องเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 70 ทวิ
เจ้าพนักงานประเมินใช้วิธีคำนวณจากภาษีที่โจทก์ชำระไว้แล้ว เป็นกำไรสุทธิเท่าใดแล้วหักภาษีที่ชำระแล้วออก เหลือเท่าใดเป็นเงินกำไรสุทธิที่ต้องเสียภาษีร้อยละ 15 เป็นการถูกต้องแล้ว
โจทก์เสียภาษีเงินได้แทนบริษัทในต่างประเทศไปแล้ว เป็นการเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 76 ทวิ มาตรา 71(1) การเสียภาษีเงินได้ตาม มาตรา 70 ทวิ เป็นการเสียภาษีในการจำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทย ไม่ใช่เสียภาษีซ้ำซ้อน
เจ้าพนักงานประเมินใช้วิธีคำนวณจากภาษีที่โจทก์ชำระไว้แล้ว เป็นกำไรสุทธิเท่าใดแล้วหักภาษีที่ชำระแล้วออก เหลือเท่าใดเป็นเงินกำไรสุทธิที่ต้องเสียภาษีร้อยละ 15 เป็นการถูกต้องแล้ว
โจทก์เสียภาษีเงินได้แทนบริษัทในต่างประเทศไปแล้ว เป็นการเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 76 ทวิ มาตรา 71(1) การเสียภาษีเงินได้ตาม มาตรา 70 ทวิ เป็นการเสียภาษีในการจำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทย ไม่ใช่เสียภาษีซ้ำซ้อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1290/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้ดอกเบี้ยกู้ต่างประเทศ: การชำระภาษีแทนผู้ให้กู้ไม่เป็นเงินได้พึงประเมินที่ต้องหัก ณ ที่จ่าย
โจทก์กู้เงินจากต่างประเทศโดยชำระดอกเบี้ยและชำระภาษีเงินได้ในดอกเบี้ยแทนผู้ให้กู้ ภาษีเงินได้ที่โจทก์ชำระแทนผู้ให้กู้นี้ เป็นประโยชน์ที่ผู้ให้กู้ได้รับอันถือได้ว่าเป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลกฎหมายรัษฎากรมาตรา 39 แต่ตามมาตรา 40(4) บัญญัติเฉพาะดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเป็นเงินได้พึงประเมิน มิได้บัญญัติถึงภาษีเงินได้สำหรับดอกเบี้ยที่ผู้กู้ออกแทนไป ไม่เป็นภาษีที่โจทก์ต้องหักไว้ ณ ที่จ่ายส่งอำเภอท้องที่ตาม มาตรา 70