พบผลลัพธ์ทั้งหมด 230 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1956/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกห้างหุ้นส่วนกรณีมีเหตุเสียหายร้ายแรง ทำให้ไม่อาจดำเนินกิจการต่อไปได้ โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
การเลิกห้างหุ้นส่วนตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1056 เป็นการเลิกในระหว่างที่กิจการของห้างหุ้นส่วนยังดำเนินไปได้ตามปกติ กฎหมายจึงบัญญัติให้บอกกล่าวล่วงหน้าหกเดือน และให้เลิกได้ต่อเมื่อสิ้นรอบปีในทางบัญชีเงินของห้างหุ้นส่วน แต่ถ้ามีเหตุการณ์ที่เสียหายเกิดขึ้นระหว่างดำเนินการของห้างหุ้นส่วนเมื่อหุ้นส่วนคนใดร้องขอ ศาลอาจสั่งให้ห้างหุ้นส่วนนั้นเลิกกันได้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1057 ซึ่งไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 1056
โจทก์ฟ้องว่า เมื่อเดือนกรกฎาคม 2511 ตลาดป่าโมกถูกไฟไหม้บรรดาพ่อค้าแม่ค้าที่ใช้แพท่าของโจทก์จำเลยเป็นที่รับส่งสินค้าได้งดการรับส่งสินค้า และได้แยกย้ายไปหาแพท่าขนส่งสินค้าใหม่ ผลประโยชน์ที่โจทก์กับจำเลยได้รับลดน้อยลงโจทก์มีความประสงค์จะเลิกการเป็นหุ้นส่วนกับจำเลย เพราะไม่มีผู้ที่จะดูแลรักษาแพท่านี้ อันเป็นเหตุให้เกิดการเสียหาย ได้แจ้งขอเลิกการเป็นหุ้นส่วนกับจำเลยแล้วถือได้ว่ามีเหตุทำให้ห้างหุ้นส่วนเหลือวิสัยที่จะดำรงอยู่ต่อไปได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1057(3)โจทก์มีสิทธิร้องขอให้ศาลสั่งเลิกห้างหุ้นส่วนนั้นได้ โดยไม่จำต้องบอกกล่าวความจำนงล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือนตามมาตรา 1056 แม้โจทก์จะมิได้มีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลสั่งให้เลิกห้างหุ้นส่วน เพียงแต่ขอให้บังคับจำเลยแบ่งทุน แต่ก็เห็นความประสงค์ของโจทก์ได้ว่าต้องการให้สั่งเลิกห้างหุ้นส่วน จึงได้ขอแบ่งทุน เมื่อตามคำฟ้องคำให้การ และทางพิจารณา ไม่ปรากฏว่าห้างหุ้นส่วนมีลูกหนี้เจ้าหนี้หรือผู้เป็นหุ้นส่วนได้ออกเงินทดรองและค่าใช้จ่ายของตนไปเพื่อจัดการค้าของห้าง โจทก์จำเลยได้ผลัดกันเก็บรายได้จากแพท่าคนละเดือนมาเป็นเวลา 10 ปีเศษแล้วสินทรัพย์ของห้างมีแต่แพรายพิพาทเท่านั้น จะรื้อฟื้นให้พิจารณาเรื่องชำระหนี้บัญชีของห้างหุ้นส่วน ก็คงไม่ได้ข้อเท็จจริงเพิ่มขึ้นแต่ประการใด ศาลพิพากษาให้จำเลยแบ่งแพรายพิพาทให้โจทก์ครึ่งหนึ่งไปทีเดียวได้ โดยให้ประมูลราคาระหว่างโจทก์จำเลย หากไม่ตกลงกัน ให้เอาแพรายพิพาทออกขายทอดตลาดเอาเงินได้สุทธิแบ่งให้โจทก์ (อ้างฎีกาที่ 1195/2497)
โจทก์ฟ้องว่า เมื่อเดือนกรกฎาคม 2511 ตลาดป่าโมกถูกไฟไหม้บรรดาพ่อค้าแม่ค้าที่ใช้แพท่าของโจทก์จำเลยเป็นที่รับส่งสินค้าได้งดการรับส่งสินค้า และได้แยกย้ายไปหาแพท่าขนส่งสินค้าใหม่ ผลประโยชน์ที่โจทก์กับจำเลยได้รับลดน้อยลงโจทก์มีความประสงค์จะเลิกการเป็นหุ้นส่วนกับจำเลย เพราะไม่มีผู้ที่จะดูแลรักษาแพท่านี้ อันเป็นเหตุให้เกิดการเสียหาย ได้แจ้งขอเลิกการเป็นหุ้นส่วนกับจำเลยแล้วถือได้ว่ามีเหตุทำให้ห้างหุ้นส่วนเหลือวิสัยที่จะดำรงอยู่ต่อไปได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1057(3)โจทก์มีสิทธิร้องขอให้ศาลสั่งเลิกห้างหุ้นส่วนนั้นได้ โดยไม่จำต้องบอกกล่าวความจำนงล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือนตามมาตรา 1056 แม้โจทก์จะมิได้มีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลสั่งให้เลิกห้างหุ้นส่วน เพียงแต่ขอให้บังคับจำเลยแบ่งทุน แต่ก็เห็นความประสงค์ของโจทก์ได้ว่าต้องการให้สั่งเลิกห้างหุ้นส่วน จึงได้ขอแบ่งทุน เมื่อตามคำฟ้องคำให้การ และทางพิจารณา ไม่ปรากฏว่าห้างหุ้นส่วนมีลูกหนี้เจ้าหนี้หรือผู้เป็นหุ้นส่วนได้ออกเงินทดรองและค่าใช้จ่ายของตนไปเพื่อจัดการค้าของห้าง โจทก์จำเลยได้ผลัดกันเก็บรายได้จากแพท่าคนละเดือนมาเป็นเวลา 10 ปีเศษแล้วสินทรัพย์ของห้างมีแต่แพรายพิพาทเท่านั้น จะรื้อฟื้นให้พิจารณาเรื่องชำระหนี้บัญชีของห้างหุ้นส่วน ก็คงไม่ได้ข้อเท็จจริงเพิ่มขึ้นแต่ประการใด ศาลพิพากษาให้จำเลยแบ่งแพรายพิพาทให้โจทก์ครึ่งหนึ่งไปทีเดียวได้ โดยให้ประมูลราคาระหว่างโจทก์จำเลย หากไม่ตกลงกัน ให้เอาแพรายพิพาทออกขายทอดตลาดเอาเงินได้สุทธิแบ่งให้โจทก์ (อ้างฎีกาที่ 1195/2497)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2579/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำแทนของตัวแทนเชิด: ห้างฯ ยอมรับนับถือการกระทำของจำเลยที่ 3 แม้พ้นสถานะผู้จัดการแล้ว
จำเลยที่ 3 ซึ่งเคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่1 แต่ได้พ้นจากการเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการแล้ว ได้เปิดบัญชีกระแสรายวันและทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิตและทำสัญญารับมอบสินค้าเชื่อ (ทรัสต์รีซีท) กับธนาคารโจทก์ ในนามของห้างจำเลยที่ 1และประทับตราชื่อห้างจำเลยที่ 1 ซึ่งแสดงว่าจำเลยที่ 3 กระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 มิใช่กระทำเป็นส่วนตัวและ ห้างจำเลยที่ 1ก็ทราบดีถึงกิจการที่จำเลยที่ 3 ได้กระทำ และยอมรับเอาเป็นกิจการที่ทำแทนห้างจำเลยที่ 1 ดังนี้ ถือได้ว่าห้างจำเลยที่ 1 ได้เชิดหรือ รู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของตน มีอำนาจกระทำกิจการดังกล่าวแทนห้าง ห้างจำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดต่อธนาคารโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า แม้จำเลยที่ 3 จะพ้นจากหุ้นส่วนผู้จัดการห้างจำเลยที่ 1 แต่ก็คงกระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 และเพื่อประโยชน์ของห้างจำเลยที่ 1 ตลอดมา เท่ากับโจทก์ตั้งประเด็นไว้ว่า ห้างจำเลยที่ 1เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของห้างจำเลยที่ 1 การที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ห้างจำเลยที่ 1 เชิดจำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน จึงมิใช่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
โจทก์บรรยายฟ้องว่า แม้จำเลยที่ 3 จะพ้นจากหุ้นส่วนผู้จัดการห้างจำเลยที่ 1 แต่ก็คงกระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 และเพื่อประโยชน์ของห้างจำเลยที่ 1 ตลอดมา เท่ากับโจทก์ตั้งประเด็นไว้ว่า ห้างจำเลยที่ 1เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของห้างจำเลยที่ 1 การที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า ห้างจำเลยที่ 1 เชิดจำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน จึงมิใช่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2579/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวแทนเชิด: ห้างฯ ยอมรับการกระทำของอดีตหุ้นส่วนผู้จัดการที่เปิดบัญชีและกู้เงินแทนห้างฯ ทำให้ผูกพันตามสัญญา
จำเลยที่ 3 ซึ่งเคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่1แต่ได้พ้นจากการเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการแล้วได้เปิดบัญชีกระแสรายวันและทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีเปิดเล็ตเตอร์ออฟเครดิตและทำสัญญารับมอบสินค้าเชื่อ (ทรัสต์รีซีท)กับธนาคารโจทก์ ในนามของห้างจำเลยที่ 1 และประทับตราชื่อห้างจำเลยที่ 1 ซึ่งแสดงว่าจำเลยที่ 3 กระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 มิใช่กระทำเป็นส่วนตัวและห้าง ห้างจำเลยที่ 1 ก็ทราบดีถึงกิจการที่จำเลยที่ 3 ได้กระทำ และยอมรับเอาเป็นกิจการที่ทำแทนห้างจำเลยที่ 1 ดังนี้ ถือได้ว่าห้างจำเลยที่ 1 ได้เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของตน มีอำนาจกระทำกิจการดังกล่าวแทนห้าง ห้างจำเลยที่ 1 จึงต้องรับผิดต่อธนาคารโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า แม้จำเลยที่ 3 จะพ้นจากหุ้นส่วนผู้จัดการห้างจำเลยที่ 1 แต่ก็คงกระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 และเพื่อประโยชน์ของห้างจำเลยที่ 1 ตลอดมา เท่ากับโจทก์ตั้งประเด็นไว้ว่า ห้างจำเลยที่ 1เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของห้างจำเลยที่ 1 การที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าห้างจำเลยที่ 1 เชิดจำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน จึงมิใช่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
โจทก์บรรยายฟ้องว่า แม้จำเลยที่ 3 จะพ้นจากหุ้นส่วนผู้จัดการห้างจำเลยที่ 1 แต่ก็คงกระทำแทนห้างจำเลยที่ 1 และเพื่อประโยชน์ของห้างจำเลยที่ 1 ตลอดมา เท่ากับโจทก์ตั้งประเด็นไว้ว่า ห้างจำเลยที่ 1เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำเลยที่ 3 แสดงออกเป็นตัวแทนของห้างจำเลยที่ 1 การที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าห้างจำเลยที่ 1 เชิดจำเลยที่ 3 เป็นตัวแทน จึงมิใช่เป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 407-408/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ห้างหุ้นส่วน/บริษัทร่วมรับผิดในละเมิด: ตราประทับ, ฟ้องเคลือบคลุม, การจ้างขับรถ
ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลซึ่งมิได้มีข้อความที่ขอจดทะเบียนระบุไว้ว่าจะต้องมีตราของห้างประทับลงบนลายมือชื่อของหุ้นส่วนผู้จัดการด้วย จึงจะผูกพันห้างนั้นในการดำเนินคดีแทนห้าง เพียงแต่หุ้นส่วนผู้จัดการลงลายมือชื่อในคำฟ้องหรือคำให้การ แม้จะไม่ประทับตราของห้างด้วยก็สมบูรณ์ตามกฎหมาย
จำเลยให้การต่อสู้ว่าฟ้องของโจทก์เคลือบคลุมเกี่ยวกับการกระทำละเมิด ย่อมไม่มีประเด็นว่าฟ้องของโจทก์เคลือบคลุมเกี่ยวกับค่าเสียหาย จำเลยจะยกขึ้นเป็นข้อฎีกาหาได้ไม่ เพราะมิใช่ข้อที่ว่ากันมาแล้วในศาลล่าง
กรรมการของบริษัทซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้จัดการใช้ให้ลูกจ้างขับรถยนต์ของบริษัทไปยังสถานที่แห่งหนึ่งโดยกรรมการผู้นั้นนั่งไปด้วย ย่อมถือได้ว่าลูกจ้างได้ขับรถไปในทางการที่บริษัทจ้างซึ่งบริษัทจะต้องร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดด้วย
จำเลยให้การต่อสู้ว่าฟ้องของโจทก์เคลือบคลุมเกี่ยวกับการกระทำละเมิด ย่อมไม่มีประเด็นว่าฟ้องของโจทก์เคลือบคลุมเกี่ยวกับค่าเสียหาย จำเลยจะยกขึ้นเป็นข้อฎีกาหาได้ไม่ เพราะมิใช่ข้อที่ว่ากันมาแล้วในศาลล่าง
กรรมการของบริษัทซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้จัดการใช้ให้ลูกจ้างขับรถยนต์ของบริษัทไปยังสถานที่แห่งหนึ่งโดยกรรมการผู้นั้นนั่งไปด้วย ย่อมถือได้ว่าลูกจ้างได้ขับรถไปในทางการที่บริษัทจ้างซึ่งบริษัทจะต้องร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 990/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกเลิกการล้มละลายทำให้ห้างหุ้นส่วนกลับมีสภาพเป็นนิติบุคคลเดิมและมีอำนาจฟ้องได้
ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ซึ่งถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายแม้จะมีกฎหมายบัญญัติให้เลิกกันเพราะเหตุล้มละลาย แต่เมื่อภายหลังศาลได้มีคำสั่งยกเลิกการล้มละลายนั้นเสียแล้ว ก็ย่อมกลับมีสภาพเป็นนิติบุคคลดังเดิมมีอำนาจฟ้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 990/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการยกเลิกการล้มละลายต่อสภาพนิติบุคคลของห้างหุ้นส่วน และอำนาจฟ้อง
ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ซึ่งถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายแม้จะมีกฎหมายบัญญัติให้เลิกกันเพราะเหตุล้มละลาย แต่เมื่อภายหลังศาลได้มีคำสั่งยกเลิกการล้มละลายนั้นเสียแล้ว ก็ย่อมกลับมีสภาพเป็นนิติบุคคลดังเดิมมีอำนาจฟ้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1880/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนจำกัดความรับผิดลงสัญญาซื้อขายแทนห้างหุ้นส่วน ต้องรับผิดร่วมกันในสัญญา
จำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดในห้างจำเลยที่ 1ซึ่งจดทะเบียนเป็นหุ้นส่วนจำกัด ห้างจำเลยที่ 1 มอบให้จำเลยที่ 2 กระทำการแทนห้างจำเลยที่ 1 ที่สำนักงานกรุงเทพฯ จำเลยที่ 2 ได้ลงชื่อทำสัญญาขายปอให้แก่โจทก์ในนามห้างจำเลยที่ 1 และประทับตราห้างจำเลยที่1 ด้วย ดังนี้ ห้างจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญานั้น
การที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดได้เข้าทำสัญญาขายปอในนามห้างจำเลยที่ 1 โดยลงชื่อตนเองและประทับตราห้างจำเลยที่ 1 อันเป็นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วย
การที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดได้เข้าทำสัญญาขายปอในนามห้างจำเลยที่ 1 โดยลงชื่อตนเองและประทับตราห้างจำเลยที่ 1 อันเป็นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1880/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนจำกัดความรับผิดลงนามสัญญาซื้อขายแทนห้างหุ้นส่วน ห้างฯ และหุ้นส่วนต้องร่วมรับผิดตามสัญญา
จำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดในห้างจำเลยที่ 1 ซึ่งจดทะเบียนเป็นหุ้นส่วนจำกัด ห้างจำเลยที่ 1 มอบให้จำเลยที่ 2 กระทำการแทนห้างจำเลยที่ 1 ที่สำนักงานกรุงเทพฯ จำเลยที่ 2 ได้ลงชื่อทำสัญญาขายปอให้แก่โจทก์ในนามห้างจำเลยที่ 1 และประทับตราห้างจำเลยที่1 ด้วย ดังนี้ ห้างจำเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญานั้น
การที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดได้เข้าทำสัญญาขายปอในนามห้างจำเลยที่ 1 โดยลงชื่อตนเองและประทับตราห้างจำเลยที่ 1 อันเป็นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วย
การที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดได้เข้าทำสัญญาขายปอในนามห้างจำเลยที่ 1 โดยลงชื่อตนเองและประทับตราห้างจำเลยที่ 1 อันเป็นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างหุ้นส่วนจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 84/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หุ้นส่วนลงทุนที่ดินในห้างหุ้นส่วนสามัญ การยึดทรัพย์เพื่อชำระหนี้ของห้างส่วน
ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งนำที่พิพาทซึ่งเป็นที่ดินมีโฉนดมาลงทุนเข้าหุ้นในห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน โดยใช้เป็นที่ตั้งโรงสีของห้างหุ้นส่วน แม้จะไม่มีการจดทะเบียนโอนโฉนดที่พิพาทก็เป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนนั้น
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 533/2511)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จำกัดจำนวนในการชำระหนี้ เมื่อหุ้นส่วนคนหนึ่งถูกฟ้องเกี่ยวกับหนี้สินของห้างหุ้นส่วนและศาลพิพากษาให้ชำระหนี้ แม้โฉนดที่พิพาทจะยังเป็นชื่อของหุ้นส่วนอีกคนหนึ่ง เจ้าหนี้ย่อมมีอำนาจนำยึดที่พิพาทเพื่อบังคับชำระหนี้ได้ หุ้นส่วนซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทหรือบุตรของหุ้นส่วนนั้นหามีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึดได้ไม่
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 288/2488)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนซึ่งไม่เป็นนิติบุคคลนั้น ไม่อาจครอบครองที่ดินของผู้เป็นหุ้นส่วนโดยอำนาจปรปักษ์ได้ แต่เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนนำที่ดินมาลงทุนเข้าหุ้นด้วยย่อมเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ในคดีล้มละลายได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 533/2511)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จำกัดจำนวนในการชำระหนี้ เมื่อหุ้นส่วนคนหนึ่งถูกฟ้องเกี่ยวกับหนี้สินของห้างหุ้นส่วนและศาลพิพากษาให้ชำระหนี้ แม้โฉนดที่พิพาทจะยังเป็นชื่อของหุ้นส่วนอีกคนหนึ่ง เจ้าหนี้ย่อมมีอำนาจนำยึดที่พิพาทเพื่อบังคับชำระหนี้ได้ หุ้นส่วนซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทหรือบุตรของหุ้นส่วนนั้นหามีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึดได้ไม่
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 288/2488)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนซึ่งไม่เป็นนิติบุคคลนั้น ไม่อาจครอบครองที่ดินของผู้เป็นหุ้นส่วนโดยอำนาจปรปักษ์ได้ แต่เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนนำที่ดินมาลงทุนเข้าหุ้นด้วยย่อมเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ในคดีล้มละลายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 84/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทรัพย์สินหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเป็นของห้างหุ้นส่วน เจ้าหนี้มีสิทธิยึดได้ แม้โฉนดยังเป็นชื่อหุ้นส่วนรายอื่น
ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งนำที่พิพาทซึ่งเป็นที่ดินมีโฉนดมาลงทุนเข้าหุ้นในห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน โดยใช้เป็นที่ตั้งโรงสีของห้างหุ้นส่วนแม้จะไม่มีการจดทะเบียนโอนโฉนดที่พิพาทก็เป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนนั้น
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 533/2511)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จำกัดจำนวนในการชำระหนี้เมื่อหุ้นส่วนคนหนึ่งถูกฟ้องเกี่ยวกับหนี้สินของห้างหุ้นส่วนและศาลพิพากษาให้ชำระหนี้แม้โฉนดที่พิพาทจะยังเป็นชื่อของหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งเจ้าหนี้ย่อมมีอำนาจนำยึดที่พิพาทเพื่อบังคับชำระหนี้ได้ หุ้นส่วนซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทหรือบุตรของหุ้นส่วนนั้นหามีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึดได้ไม่
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 288/2488)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนซึ่งไม่เป็นนิติบุคคลนั้นไม่อาจครอบครองที่ดินของผู้เป็นหุ้นส่วนโดยอำนาจปรปักษ์ได้แต่เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนนำที่ดินมาลงทุนเข้าหุ้นด้วยย่อมเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ในคดีล้มละลายได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 533/2511)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จำกัดจำนวนในการชำระหนี้เมื่อหุ้นส่วนคนหนึ่งถูกฟ้องเกี่ยวกับหนี้สินของห้างหุ้นส่วนและศาลพิพากษาให้ชำระหนี้แม้โฉนดที่พิพาทจะยังเป็นชื่อของหุ้นส่วนอีกคนหนึ่งเจ้าหนี้ย่อมมีอำนาจนำยึดที่พิพาทเพื่อบังคับชำระหนี้ได้ หุ้นส่วนซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทหรือบุตรของหุ้นส่วนนั้นหามีสิทธิร้องขอให้ถอนการยึดได้ไม่
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 288/2488)
ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนซึ่งไม่เป็นนิติบุคคลนั้นไม่อาจครอบครองที่ดินของผู้เป็นหุ้นส่วนโดยอำนาจปรปักษ์ได้แต่เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนนำที่ดินมาลงทุนเข้าหุ้นด้วยย่อมเป็นทรัพย์สินของห้างหุ้นส่วนอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนี้ในคดีล้มละลายได้