พบผลลัพธ์ทั้งหมด 231 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1551/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองอาวุธปืนของทางราชการทหารที่หายไปโดยไม่มีอำนาจหน้าที่ การครอบครองนั้นเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปืน
ของกลางซึ่งเป็นอาวุธปืนที่ใช้เฉพาะในการสงครามเป็นของทางราชการทหารแต่ได้หายไป จำเลยเป็นทหารแต่ไม่มีอำนาจหรือหน้าที่ครอบครองอาวุธปืนของกลาง การครอบครองของจำเลยไม่ใช่การครอบครองในราชการทหาร จำเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ พ.ศ.2490 มาตรา 55,78 (ที่แก้ไขแล้ว)
สำเนาเอกสารซึ่งโจทก์อ้างเป็นพยานต่อศาลนั้น จำเลยไม่ได้โต้แย้งปฏิเสธแต่ประการใด ทั้งนำสืบรับด้วยว่าเป็นเอกสารติดต่อซื้อขายสุราต่างประเทศ เช่นนี้ ศาลจึงรับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่นๆ ของโจทก์ได้
สำเนาเอกสารซึ่งโจทก์อ้างเป็นพยานต่อศาลนั้น จำเลยไม่ได้โต้แย้งปฏิเสธแต่ประการใด ทั้งนำสืบรับด้วยว่าเป็นเอกสารติดต่อซื้อขายสุราต่างประเทศ เช่นนี้ ศาลจึงรับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่นๆ ของโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2248/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคืนหรือใช้ราคาทรัพย์ในคดีฉ้อโกง: ศาลไม่อาจบังคับจำเลยคืนทรัพย์ให้โจทก์ร่วมได้หากทรัพย์ตกอยู่ในครอบครองของตัวการ
ผู้ว่าคดีเป็นโจทก์ และผู้เสียหายเข้าเป็นโจทก์ร่วม ฟ้องหาว่าจำเลยฉ้อโกงรถยนต์ขอให้ลงโทษและขอให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายมาด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่ารถยนต์ที่พิพาทตกไปอยู่ในความครอบครองของภรรยาเจ้าของรถยนต์ที่พิพาทแล้ว ทั้งรถยนต์ที่พิพาทก็ยังไม่ได้นำเข้ามาเป็นของกลางในคดีนี้ด้วย ตามรูปคดียังไม่เปิดช่องให้ศาลบังคับจำเลยคืนรถยนต์รายนี้ให้โจทก์ร่วมได้ ทั้งจะบังคับให้จำเลยใช้ราคารถยนต์ก็ไม่ได้ เพราะรถยนต์ยังมีตัวอยู่ ดังนี้ ศาลจะพิพากษาให้จำเลยคืนหรือใช้ราคารถยนต์แก่โจทก์ร่วมหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1808/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำฟ้องอาญาที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เนื่องจากขาดรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และข้อหา
ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยในข้อหาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 157,172,173,174. โดยโจทก์มิได้บรรยายว่าจำเลยมีอำนาจหน้าที่อย่างไร ทั้งคำบรรยายฟ้องก็ไม่ชัดแจ้งว่าข้อความที่จำเลยแจ้งเกี่ยวกับความผิดอาญาในฐานใด จะทำให้โจทก์ถูกหาคดีอาญาได้อย่างไรหรือไม่ ไม่พอแปลความหมายได้ว่าจำเลยได้แจ้งความเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญาจำเลยไม่อาจเข้าใจข้อหาได้ดี ดังนี้ เป็นคำฟ้องที่ไม่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดรถเพื่อสอบสวนคดี ไม่เป็นละเมิดหากสุจริตและอยู่ในอำนาจหน้าที่
จำเลยที่ 2 ในฐานะพนักงานสอบสวน ยึดรถยนต์ของโจทก์ซึ่งชนกับรถของกรมตำรวจไว้ เพื่อประกอบการสอบสวนดำเนินคดี ซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตมิได้เจตนากลั่นแกล้งให้โจทก์เสียหาย ไม่เป็นการทำละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดรถเพื่อสอบสวนคดี ไม่เป็นละเมิด หากสุจริตและอยู่ในอำนาจหน้าที่
จำเลยที่ 2 ในฐานะพนักงานสอบสวนยึดรถยนต์ของโจทก์ซึ่งชนกับรถของกรมตำรวจไว้เพื่อประกอบการสอบสวนดำเนินคดีซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตมิได้เจตนากลั่นแกล้งให้โจทก์เสียหาย ไม่เป็นการทำละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1538/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ตำรวจปราบปราม, การใช้อำนาจโดยชอบ, ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่, การสนับสนุนความผิด
ประกาศดังกล่าวกำหนดไว้ว่า 'ข้อ 6 กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามบทกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร' ย่อมหมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปรามมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนคดีอาญาได้ทั่วราชอาณาจักร แม้จะมีข้อบังคับกรมตำรวจกำหนดเขตอำนาจหน้าที่ของกองกำกับการแต่ละกองไว้ก็เป็นเพียงคำสั่งภายในเท่านั้น หากผู้บังคับบัญชาสั่งให้นายตำรวจคนใดไปสืบสวนสอบสวนนอกเขตที่กำหนดไว้นี้นายตำรวจผู้นั้นย่อมมีอำนาจหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฎหมาย ฉะนั้น การที่จำเลยที่ 1 ทำการนอกเหนือจากเขตอำนาจหน้าที่ซึ่งแบ่งไว้ ไม่ทำให้จำเลยที่ 1 ไม่เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบมิใช่การแกล้งกล่าวหา แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้วละเว้นไม่จับกุมย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่าจำเลยที่ 2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1 โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบมิใช่การแกล้งกล่าวหา แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้วละเว้นไม่จับกุมย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่าจำเลยที่ 2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1 โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1538/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ตำรวจกองปราบปรามในการสืบสวนสอบสวนทั่วราชอาณาจักร และความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่
ประกาศดังกล่าวกำหนดไว้ว่า "ข้อ 6 กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามบทกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร" ย่อมหมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปรามมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนคดีอาญาได้ทั่วราชอาณาจักร แม้จะมีข้อบังคับกรมตำรวจกำหนดเขตอำนาจหน้าที่ของกองกำกับการแต่ละกองไว้ก็เป็นเพียงคำสั่งภายในเท่านั้น หากผู้บังคับบัญชาสั่งให้นายตำรวจคนใดไปสืบสวนสอบสวนนอกเขตที่กำหนดไว้นี้นายตำรวจผู้นั้นย่อมมีอำนาจหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฎหมาย ฉะนั้น การที่จำเลยที่ 1 ทำการนอกเหนือจากเขตอำนาจหน้าที่ซึ่งแบ่งไว้ ไม่ ทำให้จำเลยที่ 1 ไม่ เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบ มิใช่การแกล้งกล่าวหา แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้ว ละเว้นไม่จับกุมย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่า จำเลยที่ 2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1 โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบ มิใช่การแกล้งกล่าวหา แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้ว ละเว้นไม่จับกุมย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่า จำเลยที่ 2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1 โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1538/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่ตำรวจปราบปราม, การใช้อำนาจหน้าที่โดยชอบ, ความผิดทุจริตต่อหน้าที่, การสนับสนุนความผิด
ประกาศดังกล่าวกำหนดไว้ว่า 'ข้อ 6 กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. และตามบทกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร'. ย่อมหมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปรามมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนคดีอาญาได้ทั่วราชอาณาจักร. แม้จะมีข้อบังคับกรมตำรวจกำหนดเขตอำนาจหน้าที่ของกองกำกับการแต่ละกองไว้ก็เป็นเพียงคำสั่งภายในเท่านั้น. หากผู้บังคับบัญชาสั่งให้นายตำรวจคนใดไปสืบสวนสอบสวนนอกเขตที่กำหนดไว้นี้.นายตำรวจผู้นั้นย่อมมีอำนาจหน้าที่ในฐานะเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฎหมาย. ฉะนั้น การที่จำเลยที่ 1 ทำการนอกเหนือจากเขตอำนาจหน้าที่ซึ่งแบ่งไว้. ไม่.ทำให้จำเลยที่ 1. ไม่.เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย.
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา. ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบ.มิใช่การแกล้งกล่าวหา. แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้ว.ละเว้นไม่จับกุม.ย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149.
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน. แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า. หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ. ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่า.จำเลยที่2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1. โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน. ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด.
จำเลยที่ 1 เป็นเจ้าพนักงานตำรวจมีอำนาจหน้าที่สืบสวนสอบสวนความผิดอาญา. ฉะนั้น การจับกุมผู้กระทำผิดในฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบจึงเป็นการใช้อำนาจในตำแหน่งโดยชอบ.มิใช่การแกล้งกล่าวหา. แต่เมื่อไปขู่เข็ญให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ผู้เล่นแล้ว.ละเว้นไม่จับกุม.ย่อมเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149.
จำเลยที่ 2 เป็นราษฎรไปขอให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตำรวจช่วยเจรจากับเจ้ามือสลากกินรวบให้จ่ายเงินสินพนันสลากกินรวบแก่ตน. แต่จำเลยที่ 1 ไปใช้อำนาจในตำแหน่งโดยพลการขู่เข็ญเจ้ามือสลากกินรวบว่า. หากไม่จ่ายให้แก่จำเลยที่ 2 แล้วจะจับกุมฐานเป็นเจ้ามือสลากกินรวบ. ดังนี้ ยังไม่พอฟังว่า.จำเลยที่2 ได้ร่วมมือกับจำเลยที่ 1. โดยการใช้วานให้จำเลยที่ 1 ขู่เข็ญ เรียกเงินมาให้จำเลยที่ 2 หรือแบ่งปันระหว่างกัน. ยังไม่ผิดฐานเป็นผู้ใช้จ้างวานยุยงส่งเสริมหรือสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1322-1324/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหน้าที่สถานีขนส่ง: ความขัดแย้งระหว่าง พ.ร.บ.จราจรทางบก กับ พ.ร.บ.การขนส่ง และการรับฟังพยานหลักฐาน
คดีอาญา จำเลยอ้างพยานเอกสารซึ่งอยู่ในความครอบครองของจำเลยและโจทก์ไม่รับรองความถูกต้อง เมื่อจำเลยไม่สืบพยานประกอบ พยานเอกสารนั้นก็รับฟังไม่ได้แต่ถ้าพยานเอกสารนั้นเป็นหนังสือราชการ ซึ่งต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการและที่จำเลยอ้างส่งต่อศาลเป็นสำเนาซึ่งเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93 (3) รับรองถูกต้อง ก็รับฟังได้ ไม่ต้องสืบพยานประกอบ
ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 เป็นอำนาจของรัฐมนตรีที่จะกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่ง และต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อประกาศกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่งแล้ว ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องใช้สถานที่นั้นเป็นที่หยุดหรือจอดยานพาหนะ ถ้าฝ่าฝืนมีความผิดตามมาตรา 69 และอธิบดีมีอำนาจกำหนดค่าบริการที่ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องชำระให้แก่สถานีขนส่งตามมาตรา 50 (1) แต่ถ้ารัฐมนตรียังไม่ได้กำหนดสถานที่ให้เป็นสถานีขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่งจัดหาสถานที่จอดพักรถโดยสารให้คนขึ้นลงได้เอง โดยไม่ให้ขัดขวางต่อการจราจร
เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจออกข้อบังคับหรือคำสั่งกำหนดสถานที่จอดพักรถได้ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2477 แต่ถ้าสถานที่จอดพักรถนั้นอยู่ในความครอบครองของเอกชนและเอกชนเป็นผู้เรียกเก็บค่าบริการในการจอดรถ ก็ไม่เป็นสถานที่จอดพักรถตามความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบก แต่เป็นสถานีขอส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 ซึ่งบัญญัติให้เป็นอำนาจของรัฐมนตรีเป็นผู้กำหนดสถานทีที่ใช้เป็นสถานีขนส่ง เจ้าพนักงานจราจรไม่มีอำนาจกำหนด
ตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 เป็นอำนาจของรัฐมนตรีที่จะกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่ง และต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อประกาศกำหนดสถานที่ที่จะใช้เป็นสถานีขนส่งแล้ว ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องใช้สถานที่นั้นเป็นที่หยุดหรือจอดยานพาหนะ ถ้าฝ่าฝืนมีความผิดตามมาตรา 69 และอธิบดีมีอำนาจกำหนดค่าบริการที่ผู้ประกอบการขนส่งจะต้องชำระให้แก่สถานีขนส่งตามมาตรา 50 (1) แต่ถ้ารัฐมนตรียังไม่ได้กำหนดสถานที่ให้เป็นสถานีขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่งจัดหาสถานที่จอดพักรถโดยสารให้คนขึ้นลงได้เอง โดยไม่ให้ขัดขวางต่อการจราจร
เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจออกข้อบังคับหรือคำสั่งกำหนดสถานที่จอดพักรถได้ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2477 แต่ถ้าสถานที่จอดพักรถนั้นอยู่ในความครอบครองของเอกชนและเอกชนเป็นผู้เรียกเก็บค่าบริการในการจอดรถ ก็ไม่เป็นสถานที่จอดพักรถตามความหมายของพระราชบัญญัติจราจรทางบก แต่เป็นสถานีขอส่งตามพระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. 2497 ซึ่งบัญญัติให้เป็นอำนาจของรัฐมนตรีเป็นผู้กำหนดสถานทีที่ใช้เป็นสถานีขนส่ง เจ้าพนักงานจราจรไม่มีอำนาจกำหนด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1230/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความผิดฐานใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบของผู้ร่วมกระทำผิดที่ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เป็นตำรวจประจำสถานีตำรวจทุ่งวัง อำเภอเมืองสงขลา จำเลยที่ 2 เป็นผู้คุมเรือนจำประจำเรือนจำเขตสงขลา ได้ร่วมกันใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจเพื่อให้ผู้อื่นมอบเงินให้ อันเป็นผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148, 157, 337 และ 83 นั้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยทั้งสองกระทำผิดจริง ก็ลงโทษจำเลยที่ 2 ในฐานะเป็นผู้สนับสนุนเท่านั้น เพราะแม้จำเลยที่ 2 เป็นพลตำรวจ แต่โจทก์มิได้ระบุในฟ้องว่าเป็นเจ้าพนักงานตำรวจ จำเลยที่ 2 จึงมิใช่ตำรวจผู้มีอำนาจหน้าที่จับกุมผู้กระทำผิดโดยทั่ว ๆ ไป