พบผลลัพธ์ทั้งหมด 247 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจดุลพินิจศาลในการอนุญาตให้ถอนฟ้องหลังจำเลยให้การ แม้จำเลยคัดค้าน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 175 ที่บัญญัติในเรื่องโจทก์ขอถอนคำฟ้องภายหลังที่จำเลยยื่นคำให้การแล้วนั้น คงมีข้อห้ามไม่ให้ศาลอนุญาตโดยมิฟังจำเลยหรือผู้ร้องสอดก่อนเท่านั้นหาได้มีข้อห้ามว่า ถ้าจำเลยคัดค้านแล้วศาลก็อนุญาตให้ถอนฟ้องไม่ได้ด้วยเหตุนี้ แม้จำเลยจะคัดค้าน ศาลย่อมสั่งอนุญาตให้โจทก์ถอนคำฟ้องได้เพราะเป็นดุลพินิจของศาลที่จะมีคำสั่งตามที่เห็นสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการอนุญาตให้ถอนฟ้องหลังยื่นคำให้การ แม้จำเลยคัดค้าน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 175 ที่บัญญัติในเรื่องโจทก์ขอถอนคำฟ้องภายหลังที่จำเลยยื่นคำให้การแล้วนั้น. คงมีข้อห้ามไม่ให้ศาลอนุญาตโดยมิฟังจำเลยหรือผู้ร้องสอดก่อนเท่านั้น. หาได้มีข้อห้ามว่า ถ้าจำเลยคัดค้านแล้วศาลก็อนุญาตให้ถอนฟ้องไม่ได้. ด้วยเหตุนี้ แม้จำเลยจะคัดค้าน ศาลย่อมสั่งอนุญาตให้โจทก์ถอนคำฟ้องได้. เพราะเป็นดุลพินิจของศาลที่จะมีคำสั่งตามที่เห็นสมควร.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการอนุญาตถอนฟ้องและการดำเนินคดีกับจำเลยร่วม
เมื่อโจทก์ขอถอนฟ้อง ศาลชั้นต้นได้สอบถามจำเลยและจำเลยร่วมแล้วแม้จำเลยและจำเลยร่วมจะคัดค้านไม่ยอมให้ถอนแต่ก็เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของศาลในการที่จะพิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร เพราะศาลจะอนุญาตหรือไม่อนุญาต หรืออนุญาตภายในเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 175 วรรค 2
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการอนุญาตถอนฟ้อง และการดำเนินคดีกับจำเลยร่วม
เมื่อโจทก์ขอถอนฟ้อง ศาลชั้นต้นได้สอบถามจำเลยและจำเลยร่วมแล้วแม้จำเลยและจำเลยร่วมจะคัดค้านไม่ยอมให้ถอน แต่ก็เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของศาลในการที่จะพิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร เพราะศาลจะอนุญาตหรือไม่อนุญาต หรืออนุญาตภายในเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 175 วรรคสอง
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการพิจารณาคดีล้มละลาย ไม่จำเป็นต้องรอฟังคดีอาญาเสมอไป
การที่จะรอฟังคดีอาญาหรือไม่ อยู่ในดุลพินิจของศาล ไม่จำเป็นต้องรอฟังเสมอไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการพิจารณาคดีล้มละลาย ไม่จำเป็นต้องรอฟังคดีอาญาที่เกี่ยวข้อง
การที่จะรอฟังคดีอาญาหรือไม่ อยู่ในดุลพินิจของศาลไม่จำเป็นต้องรอฟังเสมอไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1187/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งแต่งตั้ง/ถอดถอนผู้แทนเฉพาะคดีผู้เยาว์เป็นดุลพินิจศาล เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา ห้ามอุทธรณ์
คำสั่งแต่งตั้งหรือถอดถอนผู้แทนเฉพาะคดีของผู้เยาว์เป็นดุลพินิจของศาล และเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ไม่ใช่การวินิจฉัยชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 24 และไม่ใช่คำสั่งตามมาตรา 227 หรือ 228 แต่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา จึงต้องห้ามอุทธรณ์ตามมาตรา 226
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 989/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบอาวุธปืนที่มีใบอนุญาต: ดุลพินิจศาลในการสั่งริบวัตถุแห่งการกระทำผิด
อาวุธปืนของกลาง เป็นปืนที่มีใบอนุญาตแล้วจึงมิใช่วัตถุที่ผิดกฎหมายอันจะต้องริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 32 การที่จำเลยพาอาวุธปืนไปในที่ชุมนุมชน ไม่ทำให้ปืนที่มีใบอนุญาตกลางเป็นปืนที่ผิดกฎหมายไปด้วย แต่เป็นวัตถุแห่งการกระทำผิดต้องอยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะสั่งริบหรือไม่ แล้วแต่คดีเป็นเรื่อง ๆ ไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 667/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำให้การภายหลังการดำเนินกระบวนพิจารณาคดี ศาลมีดุลพินิจอนุมัติหรือไม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 163 ให้โอกาสแก่โจทก์จำเลยที่จะขอแก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง หรือคำให้การได้ก่อนศาลพิพากษา ในเมื่อมีเหตุอันสมควร แต่ถึงแม้จะมีเหตุอันสมควรดังที่โจทก์หรือจำเลยอ้างแล้วกฎหมายยังให้อยู่ในดุลพินิจของศาลอีกชั้นหนึ่งว่าสมควรจะอนุญาตหรือไม่
จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพทั้งในชั้นสอบสวนและชั้นศาล ศาลชั้นต้นเห็นว่าเพื่อให้คดีเสร็จโดยรวดเร็ว จึงจำหน่ายคดีเฉพาะจำเลยที่ 2 ที่ปฏิเสธ และนัดตัดสินเนิ่นนานไปถึง 7 วัน เพื่อประสานกับคดีที่ให้โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 ใหม่ ซึ่งถ้าศาลไม่สั่งเช่นนั้น จำเลยที่ 1 ก็จะถูกศาลพิพากษาลงโทษโดยไม่อาจยื่นคำให้การใหม่ ดังนี้ เมื่อพิเคราะห์ประกอบกับความผิดและพฤติการณ์แห่งคดีแล้ว ไม่อนุญาตให้จำเลยแก้คำให้การ (อ้างนัยฎีกาที่ 555/2501)
จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพทั้งในชั้นสอบสวนและชั้นศาล ศาลชั้นต้นเห็นว่าเพื่อให้คดีเสร็จโดยรวดเร็ว จึงจำหน่ายคดีเฉพาะจำเลยที่ 2 ที่ปฏิเสธ และนัดตัดสินเนิ่นนานไปถึง 7 วัน เพื่อประสานกับคดีที่ให้โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 ใหม่ ซึ่งถ้าศาลไม่สั่งเช่นนั้น จำเลยที่ 1 ก็จะถูกศาลพิพากษาลงโทษโดยไม่อาจยื่นคำให้การใหม่ ดังนี้ เมื่อพิเคราะห์ประกอบกับความผิดและพฤติการณ์แห่งคดีแล้ว ไม่อนุญาตให้จำเลยแก้คำให้การ (อ้างนัยฎีกาที่ 555/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 667/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำให้การหลังศาลสั่งจำหน่ายคดีบางส่วนและการใช้ดุลพินิจของศาลในการอนุญาต
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 163 ให้โอกาสแก่โจทก์จำเลยที่จะขอแก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง หรือคำให้การได้ก่อนศาลพิพากษา ในเมื่อมีเหตุอันสมควรแต่ถึงแม้จะมีเหตุอันสมควรดังที่โจทก์หรือจำเลยอ้างแล้วกฎหมายยังให้อยู่ในดุลพินิจของศาลอีกชั้นหนึ่งว่าสมควรจะอนุญาตหรือไม่
จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพทั้งในชั้นสอบสวนและชั้นศาล ศาลชั้นต้นเห็นว่าเพื่อให้คดีเสร็จโดยรวดเร็วจึงจำหน่ายคดีเฉพาะจำเลยที่ 2 ที่ปฏิเสธและนัดตัดสินเนิ่นนานไปถึง 7 วัน เพื่อประสานกับคดีที่ให้โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 ใหม่ ซึ่งถ้าศาลไม่สั่งเช่นนั้น จำเลยที่ 1 ก็จะถูกศาลพิพากษาลงโทษโดยไม่อาจยื่นคำให้การใหม่ ดังนี้เมื่อพิเคราะห์ประกอบกับความผิดและพฤติการณ์แห่งคดีแล้ว ไม่อนุญาตให้จำเลยแก้คำให้การ(อ้างนัยฎีกาที่ 555/2501)
จำเลยที่ 1 ให้การรับสารภาพทั้งในชั้นสอบสวนและชั้นศาล ศาลชั้นต้นเห็นว่าเพื่อให้คดีเสร็จโดยรวดเร็วจึงจำหน่ายคดีเฉพาะจำเลยที่ 2 ที่ปฏิเสธและนัดตัดสินเนิ่นนานไปถึง 7 วัน เพื่อประสานกับคดีที่ให้โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 ใหม่ ซึ่งถ้าศาลไม่สั่งเช่นนั้น จำเลยที่ 1 ก็จะถูกศาลพิพากษาลงโทษโดยไม่อาจยื่นคำให้การใหม่ ดังนี้เมื่อพิเคราะห์ประกอบกับความผิดและพฤติการณ์แห่งคดีแล้ว ไม่อนุญาตให้จำเลยแก้คำให้การ(อ้างนัยฎีกาที่ 555/2501)