พบผลลัพธ์ทั้งหมด 257 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 495/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การวางขายสินค้าโดยไม่ติดป้ายราคาไม่เป็นความผิด และการจับกุมโดยเจ้าหน้าที่ไม่มีอำนาจแต่มีการสอบสวนโดยชอบ
ของที่วางขายโดยไม่ปิดป้ายแสดงราคาโภคภัณฑ์นั้นไม่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด จึงไม่ควรริบ(เทียบฎีกา201/2493)
นายสิบและพลตำรวจจับจำเลยโดยไม่มีอำนาจตามพระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์แต่ต่อมาได้มีการสอบสวนแล้วโดยชอบและจำเลยก็รับสารภาพดังนี้ย่อมไม่ทำให้จำเลยพ้นผิดตามกฎหมาย
นายสิบและพลตำรวจจับจำเลยโดยไม่มีอำนาจตามพระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์แต่ต่อมาได้มีการสอบสวนแล้วโดยชอบและจำเลยก็รับสารภาพดังนี้ย่อมไม่ทำให้จำเลยพ้นผิดตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1781-1786/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรถไฟฯ ต้องจ่ายค่าจ้างช่วงพักงาน แม้ผู้ถูกพักงานกระทำผิดวินัย แต่ไม่ได้สอบสวนตามระเบียบ
ก่อนที่โจทก์ซึ่งเป็นคนงานของการรถไฟแห่งประเทศไทยจะถูกตำรวจจับมาฟ้องคดีอาญาในข้อหากบฎภายในราชอาณาจักร โจทก์กับคนงานการรถไฟฯ ได้มีการหยุดงานกันมาก่อน แต่จำเลยคือการรถไฟฯไม่ได้สั่งพักงานโจทก์เพราะพฤติการณ์ดังกล่าวนี้ หากแต่เห็นโจทก์มีปฏิกิริยาอื่นต่อมาจนตำรวจจับมาฟ้อง การรถไฟฯจึงสั่งพักงานโจทก์ ในที่สุดได้ความชัดว่าโจทก์ไม่ได้กระทำผิดทางอาญา แม้ว่าโจทก์จะได้กระทำผิดทางวินัย
แต่ก็ไม่ปรากฎว่าได้มีการสอบสวนโจทก์ตามระเบียบการของการรถไฟฯ ฉบับที่ 7 ข้อ 7,9 เช่นนี้ โดยมติที่ประชุมใหญ่เห็นว่าการรถไฟฯ จำเลยต้องรับผิดจ่ายค่าจ้างระหว่างพักงานให้โจทก์การที่การรถไฟฯจำเลยไม่ปฏิบัติตามระเบียบการเอง จะปรับให้โจทก์รับผิดในการกระทำของการรถไฟฯจำเลยนั้นไม่ได้.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2501)
แต่ก็ไม่ปรากฎว่าได้มีการสอบสวนโจทก์ตามระเบียบการของการรถไฟฯ ฉบับที่ 7 ข้อ 7,9 เช่นนี้ โดยมติที่ประชุมใหญ่เห็นว่าการรถไฟฯ จำเลยต้องรับผิดจ่ายค่าจ้างระหว่างพักงานให้โจทก์การที่การรถไฟฯจำเลยไม่ปฏิบัติตามระเบียบการเอง จะปรับให้โจทก์รับผิดในการกระทำของการรถไฟฯจำเลยนั้นไม่ได้.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2501)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 84/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบสวนผู้ต้องหา, การแจ้งข้อหา, และความผิดของเจ้าพนักงาน, รวมถึงการกระทำหน้าที่พ้นตำแหน่ง
ป.วิ.อาญา ม.134 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ผู้ต้องหาทราบก่อนทำการสอบสวน หมายความว่า กฎหมายต้องการให้ผู้ต้องหารู้ตัวก่อนสอบสวนว่าตนต้องถูกสอบสวนเรื่องอันใดเป็นประธานที่ต้องทำการสอบสวน มิได้หมายความว่าจะต้องแจ้งทุก ๆ กะทงความผิดแม้เดิมจะตั้งข้อหาฐานหนึ่ง แต่เมื่อสอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นความผิดฐานอื่นด้วย ก็เรียกว่าได้มีการสอบสวนในความผิดนั้นด้วยแล้ว
เดิมพยานโจทก์ถูกสอบสวนในฐานผู้ต้องหา ต่อมาอัยการผู้สอบสวนพูดว่าจะให้การตามความจริงได้ไหม ถ้าให้การตามความจริงจะเอาเป็นพยาน ๆ โจทก์ปากนี้เกรงว่าจะตกเป็นผู้ต้องหาจึงให้การใหม่ และกลับให้การใหม่เปลี่ยนข้อเท็จจริงโยนบรรดาการกระทำผิดทั้งหลายที่ให้การไว้เดิมอันเป็นข้อพิรุธของตนนั้นให้เป็นการกระทำของจำเลยโดยสิ้นเชิง เช่นนี้เป็นการไม่ชอบด้วยวิธีการสอบสวนตาม ป.วิ.อาญา ม.133
จำเลยเป็นอัยการแต่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับคดี แม้จะฟังว่าจำเลยเป็นผู้บอกให้พยานกลับ เมื่อพยานนั้นเป็นพยานที่ศาลหมายเรียกมา ไม่ใช่อัยการนำไปให้ศาลสืบ ดังนั้นการที่จะให้พยานรอเพื่อเบิกความหรือให้กลับย่อมเป็นเรื่องของศาล ทั้งได้ความจากพยานโจทก์ว่าการบอกให้พยานกลับไม่จำเป็นต้องเฉพาะอัยการเป็นผู้บอกทั้งไม่ได้ความว่าจำเลยแสดงต่อพยานนั้นว่าจำเลยเป็นอัยการคงทำหน้าที่นั้นอยู่ ดังนี้จึงเรียกไม่ได้ว่าจำเลยยังขืนกระทำการตามตำแหน่งหน้าที่อัยการอันเป็นความผิดตาม ก.ม.อาญา ม.127 วรรค 2.
เดิมพยานโจทก์ถูกสอบสวนในฐานผู้ต้องหา ต่อมาอัยการผู้สอบสวนพูดว่าจะให้การตามความจริงได้ไหม ถ้าให้การตามความจริงจะเอาเป็นพยาน ๆ โจทก์ปากนี้เกรงว่าจะตกเป็นผู้ต้องหาจึงให้การใหม่ และกลับให้การใหม่เปลี่ยนข้อเท็จจริงโยนบรรดาการกระทำผิดทั้งหลายที่ให้การไว้เดิมอันเป็นข้อพิรุธของตนนั้นให้เป็นการกระทำของจำเลยโดยสิ้นเชิง เช่นนี้เป็นการไม่ชอบด้วยวิธีการสอบสวนตาม ป.วิ.อาญา ม.133
จำเลยเป็นอัยการแต่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับคดี แม้จะฟังว่าจำเลยเป็นผู้บอกให้พยานกลับ เมื่อพยานนั้นเป็นพยานที่ศาลหมายเรียกมา ไม่ใช่อัยการนำไปให้ศาลสืบ ดังนั้นการที่จะให้พยานรอเพื่อเบิกความหรือให้กลับย่อมเป็นเรื่องของศาล ทั้งได้ความจากพยานโจทก์ว่าการบอกให้พยานกลับไม่จำเป็นต้องเฉพาะอัยการเป็นผู้บอกทั้งไม่ได้ความว่าจำเลยแสดงต่อพยานนั้นว่าจำเลยเป็นอัยการคงทำหน้าที่นั้นอยู่ ดังนี้จึงเรียกไม่ได้ว่าจำเลยยังขืนกระทำการตามตำแหน่งหน้าที่อัยการอันเป็นความผิดตาม ก.ม.อาญา ม.127 วรรค 2.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 84/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแจ้งข้อหา, การสอบสวนพยาน, และความผิดของเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา134 ที่บัญญัติให้พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาให้ผู้ต้องหาทราบก่อนทำการสอบสวนหมายความว่า กฎหมายต้องการให้ผู้ต้องหารู้ตัวก่อนสอบสวนว่าตนต้องถูกสอบสวนเรื่องอันใดเป็นประธานที่ต้องทำการสอบสวนมิได้หมายความว่าจะต้องแจ้งทุกๆ กระทงความผิด แม้เดิมจะตั้งข้อหาฐานหนึ่ง แต่เมื่อสอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นความผิดฐานอื่นด้วย ก็เรียกว่าได้มีการสอบสวนในความผิดนั้นด้วยแล้ว
เดิมพยานโจทก์ถูกสอบสวนในฐานผู้ต้องหา ต่อมาอัยการผู้สอบสวนพูดว่าจะให้การตามความจริงได้ไหม ถ้าให้การตามความจริงจะเอาเป็นพยานพยานโจทก์ปากนี้เกรงว่าจะตกเป็นผู้ต้องหาจึงให้การใหม่ และกลับให้การใหม่เปลี่ยนข้อเท็จจริงโยนบรรดาการกระทำผิดทั้งหลายที่ให้การไว้เดิมอันเป็นข้อพิรุธของตนนั้นให้เป็นการกระทำของจำเลยโดยสิ้นเชิงเช่นนี้เป็นการไม่ชอบด้วยวิธีการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา133
จำเลยเป็นอัยการแต่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับคดีนี้แม้จะฟังว่าจำเลยเป็นผู้บอกให้พยานกลับเมื่อพยานนั้นเป็นพยานที่ศาลหมายเรียกมา ไม่ใช่อัยการนำไปให้ศาลสืบดังนั้นการที่จะให้พยานรอเพื่อเบิกความหรือให้กลับย่อมเป็นเรื่องของศาลทั้งได้ความจากพยานโจทก์ว่าการบอกให้พยานกลับไม่จำเป็นต้องเฉพาะอัยการเป็นผู้บอกทั้งไม่ได้ความว่าจำเลยแสดงต่อพยานนั้นว่าจำเลยเป็นอัยการคงทำหน้าที่นั้นอยู่ดังนี้จึงเรียกไม่ได้ว่าจำเลยยังขืนกระทำการตามตำแหน่งหน้าที่อัยการอันเป็นความผิดตามกฎหมายอาญา มาตรา127 วรรคสองฎีกาที่ 1121/2494 ฎีกาที่ 545/2496
เดิมพยานโจทก์ถูกสอบสวนในฐานผู้ต้องหา ต่อมาอัยการผู้สอบสวนพูดว่าจะให้การตามความจริงได้ไหม ถ้าให้การตามความจริงจะเอาเป็นพยานพยานโจทก์ปากนี้เกรงว่าจะตกเป็นผู้ต้องหาจึงให้การใหม่ และกลับให้การใหม่เปลี่ยนข้อเท็จจริงโยนบรรดาการกระทำผิดทั้งหลายที่ให้การไว้เดิมอันเป็นข้อพิรุธของตนนั้นให้เป็นการกระทำของจำเลยโดยสิ้นเชิงเช่นนี้เป็นการไม่ชอบด้วยวิธีการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา133
จำเลยเป็นอัยการแต่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับคดีนี้แม้จะฟังว่าจำเลยเป็นผู้บอกให้พยานกลับเมื่อพยานนั้นเป็นพยานที่ศาลหมายเรียกมา ไม่ใช่อัยการนำไปให้ศาลสืบดังนั้นการที่จะให้พยานรอเพื่อเบิกความหรือให้กลับย่อมเป็นเรื่องของศาลทั้งได้ความจากพยานโจทก์ว่าการบอกให้พยานกลับไม่จำเป็นต้องเฉพาะอัยการเป็นผู้บอกทั้งไม่ได้ความว่าจำเลยแสดงต่อพยานนั้นว่าจำเลยเป็นอัยการคงทำหน้าที่นั้นอยู่ดังนี้จึงเรียกไม่ได้ว่าจำเลยยังขืนกระทำการตามตำแหน่งหน้าที่อัยการอันเป็นความผิดตามกฎหมายอาญา มาตรา127 วรรคสองฎีกาที่ 1121/2494 ฎีกาที่ 545/2496
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1179/2499
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแจ้งความเท็จเพื่อขอใบอนุญาตขายยา: เจ้าพนักงานมีอำนาจสอบสวนและหน้าที่แจ้งความ
แม้ตามกฎกระทรวงซึ่งออกตาม พระราชบัญญัติการขายยาจะระบุไว้ว่าให้ยื่นคำขอใบอนุญาตขายยาประเภท ง. ต่อแผนกสาธารณสุขจังหวัดแล้วให้เป็นหน้าที่ของสาธารณสุขจังหวัดตรวจสอบเสนอความเห็นไปยังพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจออกใบอนุญาตก็ดี เมื่อบัดนี้ตำแหน่งสาธารณสุขจังหวัดไม่มีแล้ว โดยมีอนามัยจังหวัดมาแทนตามพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมอนามัยในกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2496 ก็ต้องถือว่าตำแหน่งอนามัยจังหวัดเป็นเจ้าพนักงานเกี่ยวแก่การออกใบอนุญาตขายยาตามกฎกระทรวงนี้
ผู้ขอใบอนุญาตขายยา แจ้งความเท็จในเรื่องเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ขออนุญาตต่ออนามัยจังหวัดเป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 118
ผู้ขอใบอนุญาตขายยา แจ้งความเท็จในเรื่องเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ขออนุญาตต่ออนามัยจังหวัดเป็นความผิดฐานแจ้งความเท็จตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 118
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 273/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำพยานบุคคลหักล้างเอกสารในคดีอาญา และการสอบสวนตามหนังสือกล่าวโทษ
ในคดีอาญาคู่ความมีสิทธินำพะยานบุคคลมาสืบประกอบเพื่อแสดงว่า เอกสารที่อ้างอิงนั้นไม่ถูกต้องตรงกับความจริงได้
วิ.อาญา ม. 122 มิใช่เป็นบทห้ามเด็ดขาดมิให้พนักงานสอบสวน ๆ ตามหนังสือกล่าวโทษเป็นบัตรสนเทห์
วิ.อาญา ม. 122 มิใช่เป็นบทห้ามเด็ดขาดมิให้พนักงานสอบสวน ๆ ตามหนังสือกล่าวโทษเป็นบัตรสนเทห์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 195/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ละเมิดอำนาจศาล: ศาลลงโทษทันทีได้หากเป็นการหมิ่นประมาทในระหว่างพิจารณาคดี และไม่จำเป็นต้องสอบสวน
การหมิ่นประมาทศาลในเวลาพิจารณาคดีนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งลงโทษฐานละเมิดอำนาจศาลตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 31,33 เท่านั้นก็ไม่จำต้องสอบสวนก่อน ศาลลงโทษไปได้ทันที ทีเดียวได้
กรณีละเมิดอำนาจศาล นั้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะฉะนั้นโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 15 จึงนำบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 31,33ว่าด้วยละเมิดอำนาจศาลมาใช้บังคับได้
(เทียบฎีกา 256/2483 ในเรื่องฟ้องฎีกาข้อเท็จจริง)
กรณีละเมิดอำนาจศาล นั้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะฉะนั้นโดยอาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 15 จึงนำบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 31,33ว่าด้วยละเมิดอำนาจศาลมาใช้บังคับได้
(เทียบฎีกา 256/2483 ในเรื่องฟ้องฎีกาข้อเท็จจริง)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 545/2496 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบสวนความผิดฐานอื่นที่มิได้แจ้งข้อหาเดิม การสอบสวนถือว่าสมบูรณ์
การสอบสวนความผิดทางอาญานั้น แม้เดิมจะตั้งข้อหาฐานหนึ่ง แต่เมื่อสอบสวนแล้วปรากฎว่า เป็นความผิดฐานอื่น ด้วย ก็เรียกได้ว่า ได้มีการสอบสวนในความผิดฐานอื่นนั้นด้วยแล้ว ไม่จำเป็นต้องแจ้งข้อหาในความผิดฐานอื่นนั้น แก่ผู้ต้องหาอีก ก็ถือว่าการสอบสวนนั้นสมบูรณ์แล้ว./
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 545/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบสวนความผิดอาญา แม้เปลี่ยนฐานความผิดระหว่างสอบสวนก็ถือว่าสมบูรณ์
การสอบสวนความผิดทางอาญานั้นแม้เดิมจะตั้งข้อหาฐานหนึ่ง แต่เมื่อสอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นความผิดฐานอื่นด้วยก็เรียกได้ว่า ได้มีการสอบสวนในความผิดฐานอื่นนั้นด้วยแล้วไม่จำเป็นต้องแจ้งข้อหาในความผิดฐานอื่นนั้นแก่ผู้ต้องหาอีกก็ถือว่าการสอบสวนนั้นสมบูรณ์แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 788/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสอบสวนคดีอาญาเพิ่มเติมหลังฟ้องร้องผู้กระทำผิดไปแล้ว ถือว่าชอบด้วยกฎหมาย หากสอบปากคำผู้ต้องหาและผู้จับกุม
ได้มีการสอบสวนความผิดในคดีอาญาเรื่องหนึ่งจนถึงแก่ได้มีการฟ้องร้องผู้กระทำผิดต่อศาลศาลพิพากษาลงโทษไปแล้ว ภายหลังจับผู้ที่สมคบกระทำความผิดนั้นได้ พนักงานสอบสวนจึงได้สอบสวนตัวผู้สมคบนั้นกับผู้จับประกอบเพียงเท่านั้น ส่วนพยานอื่นถือเอาคำพยานในสำนวนการสอบสวนเดิมมิได้เรียกพยานเหล่านั้นมาสอบใหม่อีก ดังนี้ก็ย่อมถือได้ความว่าคดีสำหรับผู้สมคบกันนี้ได้มีการสอบสวนชอบแล้ว