พบผลลัพธ์ทั้งหมด 232 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1793/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้: หน้าที่การพิสูจน์ของโจทก์, เงินได้พึงประเมิน, และข้อยกเว้นภาษี
โจทก์บรรยายฟ้อง ความว่า หนังสือแจ้งภาษีเงินได้ตามเอกสารหมายเลข 1 ถึง 5 ท้ายฟ้อง ไม่ถูกต้องตรงกับความจริง เพราะมีเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ปะปนอยู่ โจทก์ได้อ้างประมวลรัษฎากร มาตรา 42 ถึงมาตรา 47 และอ้างรายการประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ (ก) ถึง (ฌ) แม้โจทก์จะมิได้กล่าวว่าเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นประเภทใด มีจำนวนเท่าใด ก็เป็นรายละเอียดที่โจทก์จะนำสืบในชั้นพิจารณาได้ ฟ้องของโจทก์เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 วรรค 2 แล้ว การนำสืบของโจทก์ไม่เป็นการสืบนอกฟ้องนอกประเด็น
โจทก์ซึ่งถูกเรียกเก็บภาษีเงินได้เป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ เพราะจำนวนเงินที่เจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรจำเลยประเมินมานั้นมิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือแม้เป็นเงินได้พึงประเมินก็ได้รับยกเว้นภาษี ดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ผู้กล่าวอ้างจะต้องพิสูจน์ว่า เงินจำนวนนั้น ๆ ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้เพราะเหตุใด กล่าวอีกนัยหนึ่ง โจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นชัดว่า เงินจำนวนนั้น ๆ มิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษีนั่นเอง
โจทก์เป็นฝ่ายกล่าวอ้างว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับเงินที่เรียกกันว่าค่าพาหนะ จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบว่าเงินนี้เข้าลักษณะเงินค่าพาหนะตามความในประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (1) หาใช่หน้าที่จำเลยที่จะต้องนำสืบไม่
เงินที่โจทก์ได้รับในชื่อค่าพาหนะจำนวน 295,500 บาท โดยจำนวน วิธีการจ่ายและพฤติการณ์ที่แท้จริง มีลักษณะเป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 หาเข้าลักษณะค่าพาหนะซึ่งโจทก์ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของโจทก์และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้นตามมาตรา 42 (1) ไม่ ฉะนั้น เงินจำนวน 295,500 บาทนี้ จำเลยจึงมีอำนาจตามกฎหมายที่จะรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ของโจทก์
โจทก์ได้หุ้นซึ่งเรียกกันว่าหุ้นฟรีรวมเป็นเงิน 341,250 บาทมา เพราะโจทก์ทำงานให้ ส. ส. จึงให้หุ้นตอบแทน เห็นได้ว่าโจทก์ได้หุ้นมาเป็นประโยชน์ตอบแทนกับการที่โจทก์ได้ทำงานให้แก่ผู้ให้ ประโยชน์นั้นมีมูลค่าเป็นเงิน จึงถือได้ว่าเป็นเงินที่โจทก์ได้รับมาตามความในมาตรา 40 (2) (8) แห่งประมวลรัษฎากร หาใช่ว่าโจทก์ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาของผู้ให้หุ้นแก่โจทก์ไม่ กรณีหุ้นที่เรียกว่าหุ้นฟรีจึงไม่ได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (10)
โจทก์ได้รับเช็คมาโดยตรงจากบริษัท ส. มิใช่บริษัท ส.จ่ายให้บุคคลอื่นแล้วบุคคลนั้นมอบให้โจทก์อีกต่อหนึ่งเพื่อให้โจทก์ทำธุระแทน เงิน 150,000 บาทตามเช็คจึงเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร
การที่พ่อค้าให้เงินจำนวนมากแก่ข้าราชการ แม้ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ จะถือว่าเป็นการให้ตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีได้หรือไม่นั้น กรณีอย่างนี้ยากที่จะถือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวได้ การณ์ย่อมแล้วแต่คติร่วมกันของฝ่ายผู้ให้และผู้รับ ฉะนั้น เช็ค 4 ฉบับ จำนวนเงิน 70,000 บาทที่โจทก์ได้รับเป็นของขวัญในวันขึ้นปีใหม่จากบริษัท ส. ก. จึงเข้าลักษณะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ เพราะเป็๋นเงินที่ได้จากการให้โดยเสน่หาตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (10)
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 กฎหมายเพียงแต่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจออกหมายเรียกตัวผู้ยื่นรายการและพยานมาให้การไต่สวน ในเมื่อเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่ารายการตามแบบที่ยื่นไม่ถูกต้องตามความจริง เป็นการให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานประเมินในอันที่จะใช้ดุลพินิจว่าสมควรจะไต่สวนหรือไม่ หาได้บัญญัติบังคับเจ้าพนักงานประเมินให้จำต้องกระทำไม่
เช็คฝากธนาคารซึ่งบริษัท ก.สั่งจ่ายให้โจทก์ ที่จำเลยนำไปคำนวณภาษีเงินได้นั้น เป็นเงินทดรองจากเงินส่วนตัวของโจทก์เองที่โจทก์ได้รับคืนมา หาใช่เงินได้พึงประเมินไม่
โจทก์ซึ่งถูกเรียกเก็บภาษีเงินได้เป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ เพราะจำนวนเงินที่เจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรจำเลยประเมินมานั้นมิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือแม้เป็นเงินได้พึงประเมินก็ได้รับยกเว้นภาษี ดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ผู้กล่าวอ้างจะต้องพิสูจน์ว่า เงินจำนวนนั้น ๆ ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้เพราะเหตุใด กล่าวอีกนัยหนึ่ง โจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นชัดว่า เงินจำนวนนั้น ๆ มิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษีนั่นเอง
โจทก์เป็นฝ่ายกล่าวอ้างว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับเงินที่เรียกกันว่าค่าพาหนะ จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบว่าเงินนี้เข้าลักษณะเงินค่าพาหนะตามความในประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (1) หาใช่หน้าที่จำเลยที่จะต้องนำสืบไม่
เงินที่โจทก์ได้รับในชื่อค่าพาหนะจำนวน 295,500 บาท โดยจำนวน วิธีการจ่ายและพฤติการณ์ที่แท้จริง มีลักษณะเป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 หาเข้าลักษณะค่าพาหนะซึ่งโจทก์ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของโจทก์และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้นตามมาตรา 42 (1) ไม่ ฉะนั้น เงินจำนวน 295,500 บาทนี้ จำเลยจึงมีอำนาจตามกฎหมายที่จะรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ของโจทก์
โจทก์ได้หุ้นซึ่งเรียกกันว่าหุ้นฟรีรวมเป็นเงิน 341,250 บาทมา เพราะโจทก์ทำงานให้ ส. ส. จึงให้หุ้นตอบแทน เห็นได้ว่าโจทก์ได้หุ้นมาเป็นประโยชน์ตอบแทนกับการที่โจทก์ได้ทำงานให้แก่ผู้ให้ ประโยชน์นั้นมีมูลค่าเป็นเงิน จึงถือได้ว่าเป็นเงินที่โจทก์ได้รับมาตามความในมาตรา 40 (2) (8) แห่งประมวลรัษฎากร หาใช่ว่าโจทก์ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาของผู้ให้หุ้นแก่โจทก์ไม่ กรณีหุ้นที่เรียกว่าหุ้นฟรีจึงไม่ได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (10)
โจทก์ได้รับเช็คมาโดยตรงจากบริษัท ส. มิใช่บริษัท ส.จ่ายให้บุคคลอื่นแล้วบุคคลนั้นมอบให้โจทก์อีกต่อหนึ่งเพื่อให้โจทก์ทำธุระแทน เงิน 150,000 บาทตามเช็คจึงเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร
การที่พ่อค้าให้เงินจำนวนมากแก่ข้าราชการ แม้ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ จะถือว่าเป็นการให้ตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีได้หรือไม่นั้น กรณีอย่างนี้ยากที่จะถือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวได้ การณ์ย่อมแล้วแต่คติร่วมกันของฝ่ายผู้ให้และผู้รับ ฉะนั้น เช็ค 4 ฉบับ จำนวนเงิน 70,000 บาทที่โจทก์ได้รับเป็นของขวัญในวันขึ้นปีใหม่จากบริษัท ส. ก. จึงเข้าลักษณะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ เพราะเป็๋นเงินที่ได้จากการให้โดยเสน่หาตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 (10)
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 กฎหมายเพียงแต่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจออกหมายเรียกตัวผู้ยื่นรายการและพยานมาให้การไต่สวน ในเมื่อเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่ารายการตามแบบที่ยื่นไม่ถูกต้องตามความจริง เป็นการให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานประเมินในอันที่จะใช้ดุลพินิจว่าสมควรจะไต่สวนหรือไม่ หาได้บัญญัติบังคับเจ้าพนักงานประเมินให้จำต้องกระทำไม่
เช็คฝากธนาคารซึ่งบริษัท ก.สั่งจ่ายให้โจทก์ ที่จำเลยนำไปคำนวณภาษีเงินได้นั้น เป็นเงินทดรองจากเงินส่วนตัวของโจทก์เองที่โจทก์ได้รับคืนมา หาใช่เงินได้พึงประเมินไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1793/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีเงินได้: การพิสูจน์ภาระหน้าที่ของผู้เสียภาษี และการรับรองความถูกต้องของรายการเงินได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า ความว่า หนังสือแจ้งภาษีเงินได้ตามเอกสารหมายเลข 1 ถึง 5 ท้ายฟ้อง ไม่ถูกต้องตรงกับความจริง เพราะมีเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ปนอยู่โจทก์ได้อ้างประมวลรัษฎากร มาตรา 42 ถึงมาตรา 47 และอ้างรายการประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ (ก) ถึง (ณ) แม้โจทก์จะมิได้กล่าวว่าเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นประเภทใด มีจำนวนเท่าใด ก็เป็นรายละเอียดที่โจทก์จะนำสืบในชั้นพิจารณาได้ ฟ้องของโจทก์เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 วรรคสอง แล้วการนำสืบของโจทก์ไม่เป็นการสืบนอกฟ้องนอกประเด็น
โจทก์ซึ่งถูกเรียกเก็บภาษีเงินได้เป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ เพราะจำนวนเงินที่เจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรจำเลยประเมินมานั้นมิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือแม้เป็นเงินได้พึงประเมินก็ได้รับยกเว้นภาษีดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ผู้กล่าวอ้างจะต้องพิสูจน์ว่า เงินจำนวนนั้น ๆได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้เพราะเหตุใด กล่างอีกนัยหนึ่ง โจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นชัดว่า เงินจำนวนนั้น ๆ มิใช่เงินได้พึงประเมินหรือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษีนั่นเอง
โจทก์เป็นฝ่ายกล่าวอ้างว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับเงินที่เรียกกันว่าค่าพาหนะ จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบว่าเงินนี้เข้าลักษณะเงินค่าพาหนะตามความในประมวลรัษฎากร มาตรา 42(1) หาใช่หน้าที่จำเลยนที่จะต้องนำสืบไม่
เงินที่โจทก์ได้รับในชื่อค่าพาหนะจำนวน 295,500 บาท โดยจำนวน วิธีการจ่ายและพฤติการณ์ที่แท้จริง มีลักษณะเป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 หาเข้าลักษณะค่าพาหนะซึ่งโจทก์ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของโจทก์และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้นตามมาตรา 42(1) ไม่ ฉะนั้น เงินจำนวน 295,500บาทนี้ จำเลยจึงมีอำนาจตามกฎหมายที่จะรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ของโจทก์
โจทก์ได้หุ้นซึ่งเรียกกันว่าหุ้นฟรีรวมเป็นเงิน 341,250 บาทมาเพราะโจทก์ทำงานให้ ส.ส. จึงให้หุ้นตอบแทน เห็นได้ว่าโจทก์ได้หุ้นมาเป็นประโยชน์ตอบแทนกับการที่โจทก์ได้ทำงานให้แก่ผู้ให้ ประโยชน์นั้นมีมูลค่าเป็นเงิน จึงถือได้ว่าเป็นเงินที่โจทก์ได้รับมาตามความในมาตรา 40(2)(8) แห่งประมวลรัษฎากร หาใช่ว่าโจทก์ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาของผู้ให้หุ้นแก่โจทก์ไม่ กรณีหุ้นที่เรียกว่าหุ้นฟรีจึงไม่ได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42(10)
โจทก์ได้รับเช็คมาโดยตรงจากบริษัท ส.มิใช่บริษัทส. จ่ายให้บุคคลอื่นแล้วบุคคลนั้นมอบให้โจทก์อีกต่อหนึ่งเพื่อให้โจทก์ทำธุระแทนเงิน 150,000 บาทตามเช็คจึงเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8)แห่งประมวลรัษฎากร
การที่พ่อค้าให้เงินจำนวนมากแก่ข้าราชการ แม้ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่จะถือว่าเป็นการให้ตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีได้หรือไม่นั้น กรณีอย่างนี้ยากที่จะถือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวได้ การณ์ย่อมแล้วแต่คติร่วมกันของฝ่ายผู้ให้และผู้รับ ฉะนั้นเช็ค 4 ฉบับ จำนวนเงิน 70,000 บาทที่โจทก์ได้รับเป็นของขวัญในวันขึ้นปีใหม่จากบริษัท ส.ก. จึงเข้าลักษณะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้เพราะเป็นเงินที่ได้จากการให้โดยเสน่หาตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42(10)
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 กฎหมายเพียงแต่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจออกหมายเรียกตัวผู้ยื่นรายการและพยานมาให้การไต่สวน ในเมื่อเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่ารายการตามแบบที่ยื่นไม่ถูกต้องตามความจริง เป็นการให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานประเมินในอันที่จะใช้ดุลพินิจว่สมควรจะไต่สวนหรือไม่หาได้บัญญัติบังคับเจ้าพนักงานประเมินให้จำต้องกระทำได้
เช็คฝากธนาคารซึ่งบริษัท ก. สั่งจ่ายให้โจทก์ ที่จำเลยนำไปคำนวณเสียภาษีเงินได้นั้น เป็นเงินทดรองจากเงินส่วนตัวของโจทก์เองที่โจทก์ได้รับคืนมา หาใช่เงินได้พึงประเมินไม่
โจทก์ซึ่งถูกเรียกเก็บภาษีเงินได้เป็นฝ่ายกล่าวอ้างขึ้นว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ เพราะจำนวนเงินที่เจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรจำเลยประเมินมานั้นมิใช่เงินได้พึงประเมิน หรือแม้เป็นเงินได้พึงประเมินก็ได้รับยกเว้นภาษีดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ผู้กล่าวอ้างจะต้องพิสูจน์ว่า เงินจำนวนนั้น ๆได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้เพราะเหตุใด กล่างอีกนัยหนึ่ง โจทก์จะต้องพิสูจน์ให้เห็นชัดว่า เงินจำนวนนั้น ๆ มิใช่เงินได้พึงประเมินหรือเป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษีนั่นเอง
โจทก์เป็นฝ่ายกล่าวอ้างว่า โจทก์ได้รับยกเว้นตามกฎหมาย ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้สำหรับเงินที่เรียกกันว่าค่าพาหนะ จึงเป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบว่าเงินนี้เข้าลักษณะเงินค่าพาหนะตามความในประมวลรัษฎากร มาตรา 42(1) หาใช่หน้าที่จำเลยนที่จะต้องนำสืบไม่
เงินที่โจทก์ได้รับในชื่อค่าพาหนะจำนวน 295,500 บาท โดยจำนวน วิธีการจ่ายและพฤติการณ์ที่แท้จริง มีลักษณะเป็นเงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงานตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 หาเข้าลักษณะค่าพาหนะซึ่งโจทก์ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของโจทก์และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้นตามมาตรา 42(1) ไม่ ฉะนั้น เงินจำนวน 295,500บาทนี้ จำเลยจึงมีอำนาจตามกฎหมายที่จะรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ของโจทก์
โจทก์ได้หุ้นซึ่งเรียกกันว่าหุ้นฟรีรวมเป็นเงิน 341,250 บาทมาเพราะโจทก์ทำงานให้ ส.ส. จึงให้หุ้นตอบแทน เห็นได้ว่าโจทก์ได้หุ้นมาเป็นประโยชน์ตอบแทนกับการที่โจทก์ได้ทำงานให้แก่ผู้ให้ ประโยชน์นั้นมีมูลค่าเป็นเงิน จึงถือได้ว่าเป็นเงินที่โจทก์ได้รับมาตามความในมาตรา 40(2)(8) แห่งประมวลรัษฎากร หาใช่ว่าโจทก์ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยาของผู้ให้หุ้นแก่โจทก์ไม่ กรณีหุ้นที่เรียกว่าหุ้นฟรีจึงไม่ได้รับยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42(10)
โจทก์ได้รับเช็คมาโดยตรงจากบริษัท ส.มิใช่บริษัทส. จ่ายให้บุคคลอื่นแล้วบุคคลนั้นมอบให้โจทก์อีกต่อหนึ่งเพื่อให้โจทก์ทำธุระแทนเงิน 150,000 บาทตามเช็คจึงเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8)แห่งประมวลรัษฎากร
การที่พ่อค้าให้เงินจำนวนมากแก่ข้าราชการ แม้ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่จะถือว่าเป็นการให้ตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีได้หรือไม่นั้น กรณีอย่างนี้ยากที่จะถือเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวได้ การณ์ย่อมแล้วแต่คติร่วมกันของฝ่ายผู้ให้และผู้รับ ฉะนั้นเช็ค 4 ฉบับ จำนวนเงิน 70,000 บาทที่โจทก์ได้รับเป็นของขวัญในวันขึ้นปีใหม่จากบริษัท ส.ก. จึงเข้าลักษณะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้เพราะเป็นเงินที่ได้จากการให้โดยเสน่หาตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีตามประมวลรัษฎากร มาตรา 42(10)
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 19,20 กฎหมายเพียงแต่บัญญัติให้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจออกหมายเรียกตัวผู้ยื่นรายการและพยานมาให้การไต่สวน ในเมื่อเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่ารายการตามแบบที่ยื่นไม่ถูกต้องตามความจริง เป็นการให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานประเมินในอันที่จะใช้ดุลพินิจว่สมควรจะไต่สวนหรือไม่หาได้บัญญัติบังคับเจ้าพนักงานประเมินให้จำต้องกระทำได้
เช็คฝากธนาคารซึ่งบริษัท ก. สั่งจ่ายให้โจทก์ ที่จำเลยนำไปคำนวณเสียภาษีเงินได้นั้น เป็นเงินทดรองจากเงินส่วนตัวของโจทก์เองที่โจทก์ได้รับคืนมา หาใช่เงินได้พึงประเมินไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1675/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วิธีคำนวณภาษีเงินได้ที่ถูกต้องตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 การนำเงินภาษีที่นายจ้างจ่ายแทนลูกจ้างมารวมเป็นเงินได้พึงประเมิน
แม้โจทก์จะมิใช่ผู้มีเงินได้ แต่โจทก์ก็มีหน้าที่ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 50 ที่จะต้องหักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของโจทก์ และจะต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างของโจทก์ผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่ต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่ง หรือตามจำนวนที่ขาดไป ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54 ฉะนั้น ในกรณีเช่นนี้ โจทก์จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้
หนังสือที่ กค.0806/งด.4658 ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2513 ซึ่งเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้แจ้งให้โจทก์ยื่นแบบ ภ.ง.ด.1 พร้อมกับชำระภาษีที่ขาดจำนวนภายใน 30 วันนั้น ถือเป็นหนังสือแจ้งการประเมิน เพราะได้แจ้งในฐานะเป็นเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้และได้มีการประเมินแล้วว่าโจทก์เสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ถูกต้อง ส่วนหนังสือที่ กค.0804/15759 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2514 นั้น ก็เป็นคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เช่นกัน เพราะหนังสือฉบับนี้มีข้อความว่า "คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ฯลฯ" และลงชื่ออธิบดีกรมสรรพากรในฐานะประธานกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งให้โจทก์ทราบว่ากรณีไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมายที่จะยื่นอุทธรณ์ได้ จึงเท่ากับว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์แล้วว่า โจทก์ไม่มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ โจทก์จึงมีอำนาจอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์นั้นโดยยื่นฟ้องต่อศาลได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 30 (2)
เงินได้ที่นายจ้างออกให้เป็นค่าภาษีเงินได้ของลูกจ้างผู้ใดนั้น ก่อนที่จะทราบว่าเป็นเงินได้จำนวนเท่าใด ก็จะต้องทราบเสียก่อนว่า ลูกจ้างนั้นจะต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินได้พึงประเมินของตน (หากนายจ้างมิได้ออกค่าภาษีเงินได้ให้) เป็นจำนวนเท่าใด และภาษีเงินได้ซึ่งลูกจ้างจะต้องเสียจำนวนนี้ หากนายจ้างออกให้ ก็จะต้องนำมารวมกับรายได้พึงประเมินเดิมของลูกจ้างเพื่อถือเป็นเงินได้พึงประเมินทั้งสิ้นของลูกจ้างผู้นั้น ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40 (1) แต่จะคำนวณทำนองนี้ต่อไปซ้ำแล้วซ้ำอีกแบบทศนิยมไม่รู้จบอันเป็นที่มาของสูตรสำเร็จดังที่กรมสรรพากรจำเลยคำนวณหาได้ไม่ เพราะการคำนวณวิธีนั้น จะเป็นการคำนวณภาษีเงินได้ในอัตราที่สูงกว่าอัตราภาษีเงินได้ที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราภาษีเงินได้ของประมวลรัษฎากร (ตามวรรค 3 วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2518)
หนังสือที่ กค.0806/งด.4658 ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2513 ซึ่งเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้แจ้งให้โจทก์ยื่นแบบ ภ.ง.ด.1 พร้อมกับชำระภาษีที่ขาดจำนวนภายใน 30 วันนั้น ถือเป็นหนังสือแจ้งการประเมิน เพราะได้แจ้งในฐานะเป็นเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้และได้มีการประเมินแล้วว่าโจทก์เสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ถูกต้อง ส่วนหนังสือที่ กค.0804/15759 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2514 นั้น ก็เป็นคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เช่นกัน เพราะหนังสือฉบับนี้มีข้อความว่า "คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ฯลฯ" และลงชื่ออธิบดีกรมสรรพากรในฐานะประธานกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งให้โจทก์ทราบว่ากรณีไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมายที่จะยื่นอุทธรณ์ได้ จึงเท่ากับว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์แล้วว่า โจทก์ไม่มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ โจทก์จึงมีอำนาจอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์นั้นโดยยื่นฟ้องต่อศาลได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 30 (2)
เงินได้ที่นายจ้างออกให้เป็นค่าภาษีเงินได้ของลูกจ้างผู้ใดนั้น ก่อนที่จะทราบว่าเป็นเงินได้จำนวนเท่าใด ก็จะต้องทราบเสียก่อนว่า ลูกจ้างนั้นจะต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินได้พึงประเมินของตน (หากนายจ้างมิได้ออกค่าภาษีเงินได้ให้) เป็นจำนวนเท่าใด และภาษีเงินได้ซึ่งลูกจ้างจะต้องเสียจำนวนนี้ หากนายจ้างออกให้ ก็จะต้องนำมารวมกับรายได้พึงประเมินเดิมของลูกจ้างเพื่อถือเป็นเงินได้พึงประเมินทั้งสิ้นของลูกจ้างผู้นั้น ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40 (1) แต่จะคำนวณทำนองนี้ต่อไปซ้ำแล้วซ้ำอีกแบบทศนิยมไม่รู้จบอันเป็นที่มาของสูตรสำเร็จดังที่กรมสรรพากรจำเลยคำนวณหาได้ไม่ เพราะการคำนวณวิธีนั้น จะเป็นการคำนวณภาษีเงินได้ในอัตราที่สูงกว่าอัตราภาษีเงินได้ที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราภาษีเงินได้ของประมวลรัษฎากร (ตามวรรค 3 วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1675/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วิธีคำนวณภาษีเงินได้ที่ถูกต้องตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 และการใช้ดุลยพินิจของศาล
แม้โจทก์จะมิใช่ผู้มีเงินได้ แต่โจทก์ก็มีหน้าที่ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 50 ที่จะต้องหักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของโจทก์ และจะต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างของโจทก์ผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่ต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่งหรือตามจำนวนที่ขาดไป ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54ฉะนั้น ในกรณีเช่นนี้ โจทก์จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้
หนังสือที่ กค.0806/งด.4658 ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2513 ซึ่งเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้แจ้งให้โจทก์ยื่นแบบ ภ.ง.ด.1 พร้อมกับชำระภาษีที่ขาดจำนวนภายใน 30 วันนั้น ถือเป็นหนังสือแจ้งการประเมิน เพราะได้แจ้งในฐานะเป็นเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้และได้มีการประเมินแล้วว่าโจทก์เสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ถูกต้องส่วนหนังสือที่ กค.0804/15759 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2514นั้น ก็เป็นคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เช่นกันเพราะหนังสือฉบับนี้มีข้อความว่า"คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ฯลฯ " และลงชื่ออธิบดีกรมสรรพากรในฐานะประธานกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งให้โจทก์ทราบว่ากรณีไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมายที่จะยื่นอุทธรณ์ได้ จึงเท่ากับว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์แล้วว่า โจทก์ไม่มีสิทธิยื่นอุทธรณ์โจทก์จึงมีอำนาจอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์นั้นโดยยื่นฟ้องต่อศาลได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 30(2)
เงินได้ที่นายจ้างออกให้เป็นค่าภาษีเงินได้ของลูกจ้างผู้ใดนั้น ก่อนที่จะทราบว่าเป็นเงินได้จำนวนเท่าใด ก็จะต้องทราบเสียก่อนว่า ลูกจ้างผู้นั้นจะต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินได้พึงประเมินของตน(หากนายจ้างมิได้ออกค่าภาษีเงินได้ให้)เป็นจำนวนเท่าใด และภาษีเงินได้ซึ่งลูกจ้างจะต้องเสียจำนวนนี้ หากนายจ้างออกให้ก็จะต้องนำมารวมกับรายได้พึงประเมินเดิมของลูกจ้างเพื่อถือเป็นเงินได้พึงประเมินทั้งสิ้นของลูกจ้างผู้นั้น ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(1) แต่จะคำนวณทำนองนี้ต่อไปซ้ำแล้วซ้ำอีกแบบทศนิยมไม่รู้จบอันเป็นที่มาของสูตรสำเร็จดังที่กรมสรรพากรจำเลยคำนวณหาได้ไม่ เพราะการคำนวณวิธีนั้นจะเป็นการคำนวณภาษีเงินได้ในอัตราที่สูงกว่าอัตราภาษีเงินได้ที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราภาษีเงินได้ของประมวลรัษฎากร (ตามวรรคสาม วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 8/2518)
หนังสือที่ กค.0806/งด.4658 ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2513 ซึ่งเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้แจ้งให้โจทก์ยื่นแบบ ภ.ง.ด.1 พร้อมกับชำระภาษีที่ขาดจำนวนภายใน 30 วันนั้น ถือเป็นหนังสือแจ้งการประเมิน เพราะได้แจ้งในฐานะเป็นเจ้าพนักงานประเมินภาษีเงินได้และได้มีการประเมินแล้วว่าโจทก์เสียภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ถูกต้องส่วนหนังสือที่ กค.0804/15759 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2514นั้น ก็เป็นคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เช่นกันเพราะหนังสือฉบับนี้มีข้อความว่า"คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ฯลฯ " และลงชื่ออธิบดีกรมสรรพากรในฐานะประธานกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งให้โจทก์ทราบว่ากรณีไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามกฎหมายที่จะยื่นอุทธรณ์ได้ จึงเท่ากับว่าคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์แล้วว่า โจทก์ไม่มีสิทธิยื่นอุทธรณ์โจทก์จึงมีอำนาจอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์นั้นโดยยื่นฟ้องต่อศาลได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 30(2)
เงินได้ที่นายจ้างออกให้เป็นค่าภาษีเงินได้ของลูกจ้างผู้ใดนั้น ก่อนที่จะทราบว่าเป็นเงินได้จำนวนเท่าใด ก็จะต้องทราบเสียก่อนว่า ลูกจ้างผู้นั้นจะต้องเสียภาษีเงินได้จากเงินได้พึงประเมินของตน(หากนายจ้างมิได้ออกค่าภาษีเงินได้ให้)เป็นจำนวนเท่าใด และภาษีเงินได้ซึ่งลูกจ้างจะต้องเสียจำนวนนี้ หากนายจ้างออกให้ก็จะต้องนำมารวมกับรายได้พึงประเมินเดิมของลูกจ้างเพื่อถือเป็นเงินได้พึงประเมินทั้งสิ้นของลูกจ้างผู้นั้น ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(1) แต่จะคำนวณทำนองนี้ต่อไปซ้ำแล้วซ้ำอีกแบบทศนิยมไม่รู้จบอันเป็นที่มาของสูตรสำเร็จดังที่กรมสรรพากรจำเลยคำนวณหาได้ไม่ เพราะการคำนวณวิธีนั้นจะเป็นการคำนวณภาษีเงินได้ในอัตราที่สูงกว่าอัตราภาษีเงินได้ที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราภาษีเงินได้ของประมวลรัษฎากร (ตามวรรคสาม วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 8/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1137/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินสินไถ่ที่ดิน: ภาษีเงินได้ของผู้ซื้อฝากและหน้าที่กระทรวงเจ้าสังกัด
เงินสินไถ่ที่ผู้ขายฝากที่ดินชำระแก่ผู้ซื้อฝากเท่ากับราคาขายฝากนั้นเป็นเงินได้ของผู้ซื้อฝากอันพึงประเมินตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา39, 40(8) ถ้าไม่ทำตามระเบียบที่กรมสรรพากรวางไว้ก็ไม่ได้รับยกเว้นการคำนวณภาษีเงินได้ตาม มาตรา 42(9) กระทรวงเจ้าสังกัดเสียภาษีแทนเฉพาะเงินเดือนตามส่วนเท่านั้น หากกระทรวงเสียเกินไป ก็เป็นเรื่องที่ต้องคืนกันเองแต่ผู้เสียภาษียังต้องรับผิดต่อกรมสรรพากรเต็มจำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2646-2649/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล: ดอกเบี้ยส่งไปสำนักงานใหญ่ ถือเป็นรายจ่ายที่ต้องนำมารวมคำนวณกำไรสุทธิ
ธนาคารสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่เข้ามาดำเนินกิจการในประเทศไทย เป็นนิติบุคคลเดียวกันกับธนาคารสำนักงานใหญ่ที่อยู่ต่างประเทศ แม้พระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. 2505 จะบังคับให้สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศต้องมีทรัพย์สินในประเทศไทยให้ทำงบดุลต่างหาก ก็เป็นการบังคับไว้เพื่อให้ธนาคารดังกล่าวมีความมั่นคงในการดำเนินกิจการในประเทศไทย หาใช่รับรองให้มีสภาพบุคคลเป็นเอกเทศจากสำนักงานใหญ่ไม่
ธนาคารสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศหรือสาขาของธนาคารในต่างประเทศส่งเงินที่รับฝากจากลูกค้ามาลงทุนในธนาคารสาขาในประเทศไทย เงินนั้นเป็นสังกมะทรัพย์เมื่อรับฝากจากลูกค้าแล้วก็ย่อมเป็นเงินหรือทรัพย์ของธนาคารสำนักงานใหญ่หรือสาขา ถือได้ว่าสำนักงานใหญ่หรือสาขานั้นเป็นผู้ส่งมาลงทุน แม้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศมีพันธะผูกพันจะต้องจ่ายดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากดอกเบี้ยนั้นก็เป็นรายจ่ายโดยแท้ของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ มิใช่รายจ่ายโดยตรงของธนาคารสาขาในประเทศไทยการที่ธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งดอกเบี้ยไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ จึงเป็นรายจ่ายเพื่อผ่อนภาระของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง และถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเอง ตามมาตรา 65 ตรี (9)(10)แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งตามมาตรา 65 ทวิ มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ จึงต้องนำไปรวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ซึ่งถือได้ว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกำไร เมื่อธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งเงินดังกล่าวออกไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ก็เท่ากับเป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามมาตรา 70 ทวิ อีกส่วนหนึ่งด้วย
ธนาคารสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศหรือสาขาของธนาคารในต่างประเทศส่งเงินที่รับฝากจากลูกค้ามาลงทุนในธนาคารสาขาในประเทศไทย เงินนั้นเป็นสังกมะทรัพย์เมื่อรับฝากจากลูกค้าแล้วก็ย่อมเป็นเงินหรือทรัพย์ของธนาคารสำนักงานใหญ่หรือสาขา ถือได้ว่าสำนักงานใหญ่หรือสาขานั้นเป็นผู้ส่งมาลงทุน แม้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศมีพันธะผูกพันจะต้องจ่ายดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากดอกเบี้ยนั้นก็เป็นรายจ่ายโดยแท้ของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ มิใช่รายจ่ายโดยตรงของธนาคารสาขาในประเทศไทยการที่ธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งดอกเบี้ยไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ จึงเป็นรายจ่ายเพื่อผ่อนภาระของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง และถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเอง ตามมาตรา 65 ตรี (9)(10)แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งตามมาตรา 65 ทวิ มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ จึงต้องนำไปรวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ซึ่งถือได้ว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกำไร เมื่อธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งเงินดังกล่าวออกไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ก็เท่ากับเป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามมาตรา 70 ทวิ อีกส่วนหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2646-2649/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีเงินได้นิติบุคคล: ดอกเบี้ยส่งไปสำนักงานใหญ่ ถือรายจ่ายต้องห้ามและเป็นการจำหน่ายกำไร
ธนาคารสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่เข้ามาดำเนินกิจการในประเทศไทย เป็นนิติบุคคลเดียวกันกับธนาคารสำนักงานใหญ่ที่อยู่ต่างประเทศ แม้พระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. 2505 จะบังคับให้สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศต้องมีทรัพย์สินในประเทศไทย ให้ทำงบดุลต่างหาก ก็เป็นการบังคับไว้เพื่อให้ธนาคารดังกล่าวมีความมั่นคงในการดำเนินกิจการในประเทศไทย หาใช่รับรองให้มีสภาพบุคคลเป็นเอกเทศจากสำนักงานใหญ่ไม่
ธนาคารสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศหรือสาขาของธนาคารในต่างประเทศส่งเงินที่รับฝากจากลูกค้ามาลงทุนในธนาคารสาขาในประเทศไทย เงินนั้นเป็นสังกมะทรัพย์เมื่อรับฝากจากลูกค้าแล้วก็ย่อมเป็นเงินหรือทรัพย์ของธนาคารสำนักงานใหญ่หรือสาขา ถือได้ว่าสำนักงานใหญ่หรือสาขานั้นเป็นผู้ส่งมาลงทุน แม้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศมีพันธะผูกพันจะต้องจ่ายดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากดอกเบี้ยนั้นก็เป็นรายจ่ายโดยแท้ของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ มิใช่รายจ่ายโดยตรงของธนาคารสาขาในประเทศไทยการที่ธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งดอกเบี้ยไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ จึงเป็นรายจ่ายเพื่อผ่อนภาระของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง และถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเอง ตามมาตรา 65 ตรี (9)(10) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งตามมาตรา 65 ทวิ มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ จึงต้องนำไปรวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ซึ่งถือได้ว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกำไร เมื่อธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งเงินดังกล่าวออกไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศก็เท่ากับเป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามมาตรา 70 ทวิ อีกส่วนหนึ่งด้วย
ธนาคารสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศหรือสาขาของธนาคารในต่างประเทศส่งเงินที่รับฝากจากลูกค้ามาลงทุนในธนาคารสาขาในประเทศไทย เงินนั้นเป็นสังกมะทรัพย์เมื่อรับฝากจากลูกค้าแล้วก็ย่อมเป็นเงินหรือทรัพย์ของธนาคารสำนักงานใหญ่หรือสาขา ถือได้ว่าสำนักงานใหญ่หรือสาขานั้นเป็นผู้ส่งมาลงทุน แม้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศมีพันธะผูกพันจะต้องจ่ายดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากดอกเบี้ยนั้นก็เป็นรายจ่ายโดยแท้ของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ มิใช่รายจ่ายโดยตรงของธนาคารสาขาในประเทศไทยการที่ธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งดอกเบี้ยไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ จึงเป็นรายจ่ายเพื่อผ่อนภาระของสำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง และถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเอง ตามมาตรา 65 ตรี (9)(10) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งตามมาตรา 65 ทวิ มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ จึงต้องนำไปรวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ซึ่งถือได้ว่าเงินจำนวนดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกำไร เมื่อธนาคารสาขาในประเทศไทยส่งเงินดังกล่าวออกไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาในต่างประเทศก็เท่ากับเป็นการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามมาตรา 70 ทวิ อีกส่วนหนึ่งด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1401-1402/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความภาษีเงินได้นิติบุคคล เริ่มนับจากวันครบกำหนดชำระภาษีตามรอบระยะเวลาบัญชี ไม่ใช่จากวันที่เจ้าพนักงานประเมินแจ้งเรียกเก็บ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต้องยื่นรายการซึ่งจำต้อง ใช้ในการคำนวณภาษีเงินได้ตามแบบต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับชำระภาษีภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีถ้าแบบที่ยื่นไว้แสดงรายการไม่ถูกต้อง ตามความจริงหรือไม่บริบูรณ์ทำให้จำนวนภาษีเงินได้ขาดไปก็ต้องถือว่าหนี้ค่าภาษีจำนวนที่ขาดไปนี้ถึงกำหนดชำระ ตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษีเงินได้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มิใช่ถึงกำหนดชำระเมื่อเจ้าพนักงานประเมินแจ้งให้ผู้เสียภาษีเงินได้ชำระค่าภาษี
อายุความเรียกร้องให้ชำระภาษีเงินได้ดังกล่าวเริ่มนับตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษียื่นรายการและชำระค่าภาษี ถ้ามิใช่ สิทธิเรียกร้องให้ชำระภายใน 10 ปีขาดอายุความ(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 31/2514)
อายุความเรียกร้องให้ชำระภาษีเงินได้ดังกล่าวเริ่มนับตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษียื่นรายการและชำระค่าภาษี ถ้ามิใช่ สิทธิเรียกร้องให้ชำระภายใน 10 ปีขาดอายุความ(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 31/2514)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1401-1402/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความภาษี: เริ่มนับจากวันถึงกำหนดชำระภาษี ไม่ใช่เมื่อเจ้าพนักงานประเมินแจ้งหนี้
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต้องยื่นรายการซึ่งจำต้องใช้ในการคำนวณภาษีเงินได้ตามแบบต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับชำระภาษีภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ถ้าแบบที่ยื่นไว้แสดงรายการไม่ถูกต้องตามความจริงหรือไม่บริบูรณ์ทำให้จำนวนภาษีเงินได้ขาดไปก็ต้องถือว่าหนี้ค่าภาษีจำนวนที่ขาดไปนี้ถึงกำหนดชำระตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษีเงินได้มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร มิใช่ถึงกำหนดชำระเมื่อเจ้าพนักงานประเมินแจ้งให้ผู้เสียภาษีเงินได้ชำระค่าภาษี
อายุความเรียกร้องให้ชำระภาษีเงินได้ดังกล่าวเริ่มนับตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษียื่นรายการและชำระค่าภาษี ถ้ามิใช่สิทธิเรียกร้องให้ชำระภายใน 10 ปีขาดอายุความ(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 31/2514)
อายุความเรียกร้องให้ชำระภาษีเงินได้ดังกล่าวเริ่มนับตั้งแต่วันที่ผู้เสียภาษียื่นรายการและชำระค่าภาษี ถ้ามิใช่สิทธิเรียกร้องให้ชำระภายใน 10 ปีขาดอายุความ(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 31/2514)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 47/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล การหักผลขาดทุนสะสมข้ามปีตามกฎหมายที่ใช้บังคับ ณ เวลาคำนวณ
การคำนวณกำไรสุทธิสำหรับเก็บภาษีต้องบังคับตามกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาคำนวณนั้นแม้ว่าผลกำไรหรือขาดทุนจะเกิดขึ้นในระหว่างยังใช้กฎหมายเดิมที่ยกเลิกไปแล้วก็ตามไม่เป็นการใช้กฎหมายย้อนหลังเพราะเป็นการคำนวณตามวิธีการในกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะคำนวณกำไรเพื่อจะเก็บภาษีจะนำเอากฎหมายที่ยกเลิกไปมาใช้ในการคำนวณเพื่อเก็บภาษีไม่ได้