พบผลลัพธ์ทั้งหมด 22 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4749/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินโดยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายธุรกิจเงินทุน บริษัทต้องรับผิดในฐานะตัวแทนเชิด
จำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจำกัด จะกู้ยืมเงินหรือรับเงินออมจากประชาชนได้จะต้องปฏิบัติอยู่ในกรอบกำหนดกฎเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจเงินทุนฯ พ.ศ. 2522 มาตรา 4, 27และตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเรื่อง การกำหนดให้บริษัทเงินทุนปฏิบัติในการกู้ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชนและการกำหนดอัตราดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2528 ข้อ 2(2) ข้อ 3(1) การที่จำเลยที่ 2ที่ 3 ซึ่งเป็นกรรมการของจำเลยที่ 1 รับฝากเงินจากโจทก์แล้วมิได้ออกเอกสารการกู้ยืมเงินหรือออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้แก่โจทก์และไม่ใช่เพื่อการ พัฒนาหรือการเคหะ แม้จำเลยที่ 2 ที่ 3 จะลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็คให้โจทก์ แต่ก็ไม่มีตราของจำเลยที่ 1 ประทับไว้ จึงมิได้เป็นการสั่งจ่ายเช็คในฐานะกรรมการผู้มีอำนาจของจำเลยที่ 1 ทั้งเป็นการกระทำนอกขอบวัตถุประสงค์ข้อบังคับของจำเลยที่ 1 และไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามบทกฎหมายและประกาศดังกล่าวจำเลยที่ 1 ย่อมไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์ แต่ตามพฤติการณ์ที่พนักงานของจำเลยที่ 1 เป็นผู้ดำเนินการรับฝากเงินจากโจทก์ณ สำนักงานของจำเลยที่ 1 ทำให้โจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกผู้สุจริตหลงเข้าใจได้ว่าการรับฝากเงินเป็นกิจการของจำเลยที่ 1ที่กระทำได้ตามกฎหมายและอยู่ภายในขอบวัตถุประสงค์ข้อบังคับของจำเลยที่ 1 โดยรับฝากเงินแล้วออกเป็นเช็คให้เช่นนี้ ต้องถือว่าจำเลยที่ 1 เป็นผู้ติดต่อรับฝากเงินและรู้เห็นเอง โดยจำเลยที่ 1เชิดจำเลยที่ 2 ที่ 3 เป็นตัวแทนผู้มีอำนาจกระทำการในการรับฝากเงินและออกเช็คให้แก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ต้องผูกพันรับเอาผลการกระทำของจำเลยที่ 2 ที่ 3 ไว้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 821จำเลยที่ 1 ต้องรับผิดคืนเงินที่รับฝากพร้อมดอกเบี้ยแก่โจทก์
การกำหนดค่าฤชาธรรมเนียมเป็นดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 แล้วยกเสีย มิใช่กรณีที่ศาลสั่งไม่รับฟ้องแย้งซึ่งจะต้องสั่งคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 151 แต่จะต้องบังคับตามมาตรา 161 ซึ่งศาลใช้ดุลพินิจไม่คืนค่าธรรมเนียมฟ้องแย้งให้จำเลยที่ 1 ได้.
การกำหนดค่าฤชาธรรมเนียมเป็นดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 การที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟ้องแย้งของจำเลยที่ 1 แล้วยกเสีย มิใช่กรณีที่ศาลสั่งไม่รับฟ้องแย้งซึ่งจะต้องสั่งคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 151 แต่จะต้องบังคับตามมาตรา 161 ซึ่งศาลใช้ดุลพินิจไม่คืนค่าธรรมเนียมฟ้องแย้งให้จำเลยที่ 1 ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2429/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และการริบของกลางที่ไม่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด
จำเลยที่ 1 ประกอบธุรกิจเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ในรูปบริษัทมหาชน จำกัด โดยไม่ได้รับความเห็นชอบและไม่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเงินทุนจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 ความผิดของจำเลยที่ 1เกิดขึ้นเนื่องจากจำเลยที่ 1 ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าว ฉะนั้นของกลางซึ่งเป็นสัญญากู้ยืมเงิน สัญญาให้กู้ยืมเงินสมุดบัญชีและเอกสารต่าง ๆ ไม่ใช่ของที่ใช้ในการกระทำความผิดจึงริบไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2429/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และการริบของกลาง
จำเลยที่ 1 ประกอบธุรกิจเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ในรูปบริษัทมหาชน จำกัด โดยไม่ได้รับความเห็นชอบและไม่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเงินทุนจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 ความผิดของจำเลยที่ 1เกิดขึ้นเนื่องจากจำเลยที่ 1 ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าว ฉะนั้นของกลางซึ่งเป็นสัญญากู้ยืมเงิน สัญญาให้กู้ยืมเงินสมุดบัญชีและเอกสารต่าง ๆ ไม่ใช่ของที่ใช้ในการกระทำความผิดจึงริบไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4260-4262/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปิดสาขาธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน: ศาลฎีกาแก้ไขการลงโทษกระทงความผิด
นับตั้งแต่วันที่ประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519 เรื่อง กำหนดกิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ 5 (7) แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 และประกาศกระทรวงการคลังฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519 เรื่องกำหนดเงื่อนไขในการอนุญาตให้ประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาต ฯ ใช้บังคับ บริษัทที่ประกอบธุรกิจเงินทุนจะต้องยื่นคำขอรับอนุญาตภายใน 60 วัน และจะมีสาขาไม่ได้เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถ้าบริษัทใดมีสาขาอยู่แล้วและประสงค์จะมีสาขานั้นต่อไปก็ให้ยื่นคำขอรับอนุญาตไปพร้อมกันด้วย บริษัทจำเลยที่ 2 เปิดสาขาหลังจากวันที่ประกาศดังกล่าวใช้บังคับแล้วโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงมีความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชนจึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชนจึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5 (7), 16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4260-4262/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปิดสาขาธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน
นับตั้งแต่วันที่ประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที่ 19 กันยายน2519 เรื่อง กำหนดกิจการที่ต้องขออนุญาตตามข้อ 5(7) แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 และประกาศกระทรวงการคลังฉบับลงวันที่ 19 กันยายน 2519เรื่องกำหนดเงื่อนไขในการอนุญาตให้ประกอบกิจการที่ต้องขออนุญาต ฯ ใช้บังคับ บริษัทที่ประกอบธุรกิจเงินทุนจะต้องยื่นคำขอรับอนุญาตภายใน 60 วัน และจะมีสาขาไม่ได้เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถ้าบริษัทใดมีสาขาอยู่แล้วและประสงค์จะมีสาขานั้นต่อไปก็ให้ยื่นคำขอรับอนุญาตไปพร้อมกันด้วย บริษัทจำเลยที่ 2 เปิดสาขาหลังจากวันที่ประกาศดังกล่าวใช้บังคับแล้วโดยไม่ได้รับอนุญาต จึงมีความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชน จึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้ เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
การที่โจทก์ร่วมและผู้มีชื่อเป็นผู้ช่วยผู้จัดการและผู้จัดการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 หลงเชื่อในคำหลอกลวงของจำเลยจึงได้ร่วมกันเปิดกิจการสาขาของบริษัทจำเลยที่ 2 และชักชวนให้ประชาชนนำเงินมาฝากบริษัทจำเลยที่ 2 ยังถือไม่ได้ว่าโจทก์ร่วม ผู้มีชื่อ และประชาชนผู้นำเงินมาฝากมีส่วนร่วมกระทำความผิดและไม่ใช่ผู้เสียหาย
จำเลยฎีกาว่า การที่ผู้เสียหายนำเงินมาฝากเพราะเชื่อถือในบริษัทจำเลยที่ 2 จึงหาใช่มูลกรณีอันจะเป็นความผิดทางอาญาไม่ และบริษัทจำเลยที่ 2 ประกอบธุรกิจด้วยความบริสุทธิ์ มิได้หลอกลวงประชาชน จึงไม่มีความผิดเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินคนละ 5 ปีฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 ที่ศาลชั้นต้นรับฎีกาของจำเลยข้อนี้ไว้จึงไม่ชอบศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ข้อ 5(7),16 ย่อมสำเร็จเมื่อจำเลยเปิดสาขาประกอบธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นคนละกรรมต่างหากจากความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน แม้โจทก์ไม่อุทธรณ์ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจแก้ไขเฉพาะการปรับบทเรียงกระทงให้ถูกต้องได้ เพราะเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4219/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทเพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ธุรกิจเงินทุน และผลกระทบต่อความผิดฐานใช้ชื่อบริษัทที่สื่อถึงธุรกิจเงินทุน
จำเลยใช้ชื่อ ว่าบริษัทเงินทุนในการประกอบธุรกิจโดยจำเลยมิใช่บริษัทเงินทุนตามกฎหมาย ต่อมาระหว่างอุทธรณ์ได้มีประกาศใช้บังคับ พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ พ.ศ. 2526 ซึ่งมาตรา 37 บัญญัติให้เลิกใช้ชื่อ ดังกล่าวภายใน 180 วันนับแต่วันที่ พ.ร.ก. ใช้บังคับ ภายในกำหนดเวลาดังกล่าว จำเลยได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อ บริษัท เลิกใช้ชื่อ ว่าบริษัทเงินทุน ดังนี้ จำเลยมิได้กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 13,72 แห่ง พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจเงินทุนฯ พ.ศ. 2522 อีกต่อไปถือได้ว่าการกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3536/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต, กรรมการมีส่วนรับผิด, บทกำหนดโทษตาม พ.ร.บ.ธุรกิจเงินทุน
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันดำเนินกิจการจัดหาเงินจากประชาชนและให้กู้ยืมเงินในระยะสั้นเป็นทางค้าปกติโดยรับเงินจากประชาชนแล้วออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้เจ้าของเงินไว้รวม 70 รายการ และยังให้บริษัทเงินทุน 2 บริษัทกู้ยืมเงินไป โดยจำเลยรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน อีก 6 รายการเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจเงินทุน ฯ พ.ศ.2522. จำเลยทั้งสี่ยอมให้การรับสารภาพไม่ต่อสู้คดี และมิได้ นำพยานหลักฐานเข้านำสืบหักล้างข้อเท็จจริงดังกล่าว การที่จำเลยฎีกาว่าไม่มีเจตนากระทำความผิดอีกย่อมรับฟังไม่ได้
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่ 1 เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1
ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ บัญญัติให้ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้น คือเมื่อลงมือกระทำผิดต้องถูกลงโทษขั้นแรกจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่ 1 เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1
ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ บัญญัติให้ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้น คือเมื่อลงมือกระทำผิดต้องถูกลงโทษขั้นแรกจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3536/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความรับผิดของกรรมการบริษัท
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันดำเนินกิจการจัดหาเงินจากประชาชน และให้กู้ยืมเงินในระยะสั้นเป็นทางค้าปกติโดยรับเงินจากประชาชนแล้ว ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้เจ้าของเงินไว้รวม 70 รายการและยังให้ บริษัทเงินทุน2บริษัทกู้ยืมเงินไปโดยจำเลยรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน อีก6รายการเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจเงินทุนฯพ.ศ.2522. จำเลยทั้งสี่ยอมให้การรับสารภาพไม่ต่อสู้คดีและมิได้ นำพยานหลักฐานเข้านำสืบหักล้างข้อเท็จจริงดังกล่าวการที่จำเลยฎีกา ว่าไม่มีเจตนากระทำความผิดอีกย่อมรับฟังไม่ได้
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯจำเลยที่ 2ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่1จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สำหรับความผิดนั้นๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่1เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯบัญญัติให้ ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้นคือเมื่อลงมือกระทำผิด ต้องถูกลงโทษขั้นแรก จำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับและ ตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯจำเลยที่ 2ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่1จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สำหรับความผิดนั้นๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่1เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯบัญญัติให้ ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้นคือเมื่อลงมือกระทำผิด ต้องถูกลงโทษขั้นแรก จำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับและ ตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3024/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนและการประกอบธุรกิจตาม พ.ร.บ. ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 มาตรา 4 หมายความว่าเป็นการให้กู้ยืมเงินใน ระยะสั้นเป็นทางค้าปกติคือให้กู้ยืมเงินมีกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ไม่เกินหนึ่ง ปีนับแต่วันให้กู้ยืม จะมีหลักทรัพย์เป็นประกันโดยการจำนอง จำนำ หรือค้ำประกันด้วยบุคคลหรือไม่มีหลักประกันดังกล่าวเลยก็ได้ ส่วนกิจการเครดิตฟองซิเอร์นั้นหมายความว่า กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปกติ ไม่จำกัดว่าต้องเป็นการให้กู้ยืมเงินระยะสั้นแต่จำกัดว่าต้องมีหลักทรัพย์เป็นอสังหาริมทรัพย์มาจำนองเป็นประกันเงินกู้เท่านั้น จะเอาอสังหาริมทรัพย์มาจำนำหรือเอาบุคคลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้นั้นไม่ได้ การที่โจทก์ให้จำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมและจำเลยที่ 1 ยังนำที่ดินมาจำนองเป็นประกันเงินกู้อีกด้วยจึง เป็นการประกอบธุรกิจเงินทุนที่โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังดังกล่าวแล้ว ไม่ตกเป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3024/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตธุรกิจเงินทุนและเครดิตฟองซิเอร์: การให้กู้ยืมเงินที่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน
โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ.2522 มาตรา 4 หมายความว่าเป็นการให้กู้ยืมเงินใน ระยะสั้นเป็นทางค้าปกติ คือให้กู้ยืมเงินมีกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ไม่เกินหนึ่ง ปีนับแต่วันให้กู้ยืม จะมีหลักทรัพย์เป็นประกันโดยการจำนอง จำนำ หรือค้ำประกันด้วยบุคคลหรือไม่มีหลักประกันดังกล่าวเลยก็ได้ ส่วนกิจการเครดิตฟองซิเอร์นั้นหมายความว่า กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปกติ ไม่จำกัดว่าต้องเป็นการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น แต่จำกัดว่าต้องมีหลักทรัพย์เป็นอสังหาริมทรัพย์มาจำนองเป็นประกันเงินกู้เท่านั้น จะเอาอสังหาริมทรัพย์มาจำนำหรือเอาบุคคลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้นั้นไม่ได้ การที่โจทก์ให้จำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วม และจำเลยที่1 ยังนำที่ดินมาจำนองเป็นประกันเงินกู้อีกด้วย จึง เป็นการประกอบธุรกิจเงินทุนที่โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังดังกล่าวแล้ว ไม่ตกเป็นโมฆะ