พบผลลัพธ์ทั้งหมด 29 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1130/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลสูงในการกำหนดโทษกระทงเบาหลังยกฟ้องกระทงหนัก และการยุติของความผิดที่ยังคงมีอยู่
กรณีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยกระทำผิดฐานรับของโจรตามมาตรา 357 และพกพาอาวุธไปในที่ชุมชนตามมาตรา 371แต่ให้ลงโทษกระทงหนักตามมาตรา 357 และจำเลยฝ่ายเดียวอุทธรณ์เฉพาะข้อหาฐานรับของโจร นั้น ความผิดของจำเลยฐานพกพาอาวุธไปในที่ชุมนุมชนตามมาตรา 371 ที่ยุติแล้ว ก็ยังคงมีอยู่ตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อศาลสูง(ศาลอุทธรณ์) พิพากษายกฟ้องฐานรับของโจรอันเป็นกระทงหนัก ศาลสูง (ศาลอุทธรณ์) ก็มีอำนาจกำหนดโทษในความผิดกระทงเบาฐานพกพาอาวุธไปในที่ชุมชนที่ยังมีอยู่นั้นได้ ไม่เป็นการนอกเหนือกฎหมาย ตามนัยฎีกาที่ 1196/2502 และเมื่อศาลอุทธรณ์ไม่กำหนดโทษ ศาลฎีกาก็กำหนดโทษไปโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์กำหนดได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1541/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมีทุนทรัพย์เกินอำนาจศาลแขวง แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ ศาลสูงมีอำนาจยกคำพิพากษาและพิพากษายกฟ้องได้
ฟ้องขอให้โอนที่ดินให้ตามสัญญาจะซื้อขายนั้น เป็นคดีมีทุนทรัพย์ ( อ้างคำสั่งคำร้องที่ 12/2493 และ ฎีกาที่ 1065/2493 )
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลแขวงจำเลยต่อสู้ว่าเป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินอำนาจศาลแขวง แต่เมื่อศาลแขวงสั่งว่าคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง แล้วพิจารณาคดีต่อไปนั้น แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ในทันที และมิได้โต้แย้งคำสั่งไว้ จนศาลพิพากษาแล้ว จึงมาอุทธรณ์เรื่องอำนาจศาลอีก ดังนี้ก็ตาม ก็เป็นเรื่องอำนาจศาลเป็นข้อ ก.ม.อันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลย่อมยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 142 (5) และเมื่อเห็นว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง ศาลสูงก็ย่อมมีอำนาจให้ยกคำพิพากษาแขวงแล้วพิพากษายกฟ้องโจทก์ได้
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลแขวงจำเลยต่อสู้ว่าเป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินอำนาจศาลแขวง แต่เมื่อศาลแขวงสั่งว่าคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง แล้วพิจารณาคดีต่อไปนั้น แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ในทันที และมิได้โต้แย้งคำสั่งไว้ จนศาลพิพากษาแล้ว จึงมาอุทธรณ์เรื่องอำนาจศาลอีก ดังนี้ก็ตาม ก็เป็นเรื่องอำนาจศาลเป็นข้อ ก.ม.อันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลย่อมยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 142 (5) และเมื่อเห็นว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง ศาลสูงก็ย่อมมีอำนาจให้ยกคำพิพากษาแขวงแล้วพิพากษายกฟ้องโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1541/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาล: แม้จำเลยไม่โต้แย้งทันที ศาลสูงยังยกขึ้นวินิจฉัยเรื่องอำนาจศาลได้
ฟ้องขอให้โอนที่ดินให้ตามสัญญาจะซื้อขายนั้น เป็นคดีมีทุนทรัพย์ (อ้างคำสั่งคำร้องที่ 12/2493 และฎีกาที่1065/2493)
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลแขวง จำเลยต่อสู้ว่าเป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินอำนาจศาลแขวง แต่เมื่อศาลแขวงสั่งว่าคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง แล้วพิจารณาคดีต่อไปนั้น แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ในทันที และมิได้โต้แย้งคำสั่งไว้ จนศาลพิพากษาแล้ว จึงมาอุทธรณ์เรื่องอำนาจศาลอีก ดังนี้ก็ตาม ก็เป็นเรื่องอำนาจศาลเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน. ศาลย่อมยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) และเมื่อเห็นว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง ศาลสูงก็ย่อมมีอำนาจให้ยกคำพิพากษาศาลแขวงแล้วพิพากษายกฟ้องโจทก์ได้
โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศาลแขวง จำเลยต่อสู้ว่าเป็นคดีมีทุนทรัพย์เกินอำนาจศาลแขวง แต่เมื่อศาลแขวงสั่งว่าคดีอยู่ในอำนาจศาลแขวง แล้วพิจารณาคดีต่อไปนั้น แม้จำเลยมิได้อุทธรณ์ในทันที และมิได้โต้แย้งคำสั่งไว้ จนศาลพิพากษาแล้ว จึงมาอุทธรณ์เรื่องอำนาจศาลอีก ดังนี้ก็ตาม ก็เป็นเรื่องอำนาจศาลเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน. ศาลย่อมยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) และเมื่อเห็นว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง ศาลสูงก็ย่อมมีอำนาจให้ยกคำพิพากษาศาลแขวงแล้วพิพากษายกฟ้องโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาผูกพันคู่ความจนกว่าจะเปลี่ยนแปลงโดยศาลสูงขึ้นไป ศาลชั้นต้นเพิกถอนคำพิพากษาเดิมไม่ได้
ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 145 คำพิพากษาของศาลย่อมผูกพันคู่ความจนคำพิพากษานั้นจะได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปแก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกลับหรืองดเสียนี้ ตามปกติเป็นอำนาจของศาลสูงขึ้นไป คือศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ศาลชั้นต้นจะเพิกถอนคำพิพากษาของตัวเองหาได้ไม่
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์ คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการ โจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสีย ดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ป.ม.วิ.แพ่ง.
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์ คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการ โจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสีย ดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ป.ม.วิ.แพ่ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 483/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาผูกพันคู่ความจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงโดยศาลสูงกว่าเท่านั้น ศาลชั้นต้นเพิกถอนคำพิพากษาเดิมไม่ได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145 คำพิพากษาของศาลย่อมผูกพันคู่ความจนคำพิพากษานั้นจะได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปแก้ไข กลับหรืองดเสีย ถ้าหากมี การแก้ไขเปลี่ยนแปลงกลับหรืองดเสียนี้ตามปกติเป็นอำนาจของศาลสูงขึ้นไป คือศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา แล้วแต่กรณี ศาลชั้นต้นจะเพิกถอนคำพิพากษาของตัวเองหาได้ไม่
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์
คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการโจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสียดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เดิมจำเลยฟ้องขับไล่โจทก์ในคดีนี้ออกจากที่เช่า โจทก์ต่อสู้ในคดีเดิมนั้นว่ามติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าใช้ไม่ได้ ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้โจทก์สืบในข้อนี้ พิพากษาขับไล่โจทก์ โจทก์อุทธรณ์ขอให้ทุเลาการบังคับ และให้รอการพิจารณาไว้ก่อนโดยโจทก์ได้ยื่นฟ้องทำลายมติคณะกรรมการแล้ว แต่โจทก์ยื่นอุทธรณ์เกินกำหนด ศาลจึงไม่รับอุทธรณ์
คดีนั้นถึงที่สุด ต่อมาศาลพิพากษาให้ทำลายมติคณะกรรมการโจทก์จึงมาฟ้องคดีนี้ขอให้ทำลายคำพิพากษาในคดีเดิมที่ขับไล่โจทก์นั้นเสียดังนี้ โจทก์ย่อมฟ้องไม่ได้เพราะต้องห้ามตามมาตรา 144 ประกอบกับมาตรา 145 และ 148 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งชี้ขาดข้อกฎหมายเบื้องต้นตามมาตรา 24: ศาลสูงมีอำนาจยกเลิกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นของศาลชั้นต้นได้หากยังไม่สมควรชี้ขาด
ศาลชั้นต้นทำคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาข้อกฎหมายเบื้องต้นตามมาตรา 24 ศาลอุทธรณ์เห็นว่า ยังไม่สมควรที่ศาลจะมีคำสั่งชี้ขาด เพราะข้อเท็จจริงยังไม่ได้ความพอที่จะมีคำสั่งเช่นนั้น จึงพิพากษาให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิารณาต่อไป แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี ดังนี้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวแล้ว หาใช่คำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ไม่ คู่ความย่อมฎีกาได้
แม้ศาลชั้นต้นสั่งชี้ขาดเบื้องต้นตามมาตรา 24 แล้ว เมื่อศาลสูงเห็นว่า รูปคดียังไม่สมควรชี้ขาดเบื้องต้น ก็ให้ยกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นของศาลชั้นต้นเสียได้
แม้ศาลชั้นต้นสั่งชี้ขาดเบื้องต้นตามมาตรา 24 แล้ว เมื่อศาลสูงเห็นว่า รูปคดียังไม่สมควรชี้ขาดเบื้องต้น ก็ให้ยกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นของศาลชั้นต้นเสียได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 268/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลสูงในการยกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นตามมาตรา 24 และสิทธิในการฎีกา
ศาลชั้นต้นทำคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาข้อกฎหมายเบื้องต้นตามมาตรา 24 ศาลอุทธรณ์เห็นว่า ยังไม่สมควรที่ศาลจะมีคำสั่งชี้ขาด เพราะข้อเท็จจริงยังไม่ได้ความพอที่จะมีคำสั่งเช่นนั้น จึงพิพากษาให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาต่อไป แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี ดังนี้ คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ดังกล่าวแล้ว หาใช่คำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ไม่คู่ความย่อมฎีกาได้
แม้ศาลชั้นต้นสั่งชี้ขาดเบื้องต้นตามมาตรา 24 แล้วเมื่อศาลสูงเห็นว่า รูปคดียังไม่สมควรชี้ขาดเบื้องต้นก็ให้ยกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นของศาลชั้นต้นเสียได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2491)
แม้ศาลชั้นต้นสั่งชี้ขาดเบื้องต้นตามมาตรา 24 แล้วเมื่อศาลสูงเห็นว่า รูปคดียังไม่สมควรชี้ขาดเบื้องต้นก็ให้ยกคำสั่งชี้ขาดเบื้องต้นของศาลชั้นต้นเสียได้
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 7/2491)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2490 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประกาศยกเลิกอำนาจควบคุมไม่ถือเป็นการยกเลิกความผิดเดิม ศาลสูงสั่งให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
ประกาศที่ออกตามอำนาจในกฎหมายต่อมามีประกาศยกเลิกเรื่องตามคำสั่งนั้น ไม่ถือว่าเป็นกฎหมายยกเลิกความผิด
ในกรณีที่เป็นกรรมเดียวกันนั้นเมื่อศาลสูงเห็นว่า ศาลชั้นต้นยกฟ้องบางส่วนไม่ถูกต้อง จะให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่ศาลสูงย่อมให้ยกคำพิพากษาทั้งหมด และให้พิพากษาใหม่ทั้งหมด
ในกรณีที่เป็นกรรมเดียวกันนั้นเมื่อศาลสูงเห็นว่า ศาลชั้นต้นยกฟ้องบางส่วนไม่ถูกต้อง จะให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่ศาลสูงย่อมให้ยกคำพิพากษาทั้งหมด และให้พิพากษาใหม่ทั้งหมด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 126/2490
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประกาศยกเลิกเรื่องตามอำนาจกฎหมาย ไม่ถือเป็นการยกเลิกความผิดเดิม ศาลสูงสั่งพิพากษาใหม่
ประกาศที่ออกตามอำนาจในกฎหมาย ต่อมามีประกาศยกเลิกเรื่องตามคำสั่งนั้น ไม่ถือว่าเป็นกฎหมายยกเลิกความผิด
ในกรณีที่เป็นกรรมเดียวกันนั้นเมื่อศาลสูงเห็นว่าศาลชั้นต้นยกฟ้องบางส่วนไม่ถูกต้อง จะให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่ศาลสูงย่อมให้ยกคำพิพากษาทั้งหมด และให้พิพากษาใหม่ทั้งหมด
ในกรณีที่เป็นกรรมเดียวกันนั้นเมื่อศาลสูงเห็นว่าศาลชั้นต้นยกฟ้องบางส่วนไม่ถูกต้อง จะให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่ศาลสูงย่อมให้ยกคำพิพากษาทั้งหมด และให้พิพากษาใหม่ทั้งหมด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 519/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีอยู่ในระหว่างพิจารณา แม้ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษา หากศาลสูงหมดอำนาจเหนือคดี ต้องจำหน่ายคดีและไม่ตัดสิทธิฟ้องร้องใหม่
คดีที่ศาลพิพากษาแล้วแต่ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษา ย่อมถือว่าเป็นคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลนั้น ๆ
เมื่อดินแดนในอาณาเขตต์ของศาลชั้นต้นได้โอนไปเป็นอาณาเขตต์ของประเทศอื่นในเวลาที่คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลสูง ศาลสูงก็ต้องสั่งจำหน่ายคดี
ในคดีที่ศาลสูงสั่งจำหน่ายคดีเพราะหมดอำนาจเหนือคดีนั้นศาลสั่งให้คืนค่าธรรมเนียมฉะเพาะศาลนั้น
เมื่อดินแดนในอาณาเขตต์ของศาลชั้นต้นได้โอนไปเป็นอาณาเขตต์ของประเทศอื่นในเวลาที่คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลสูง ศาลสูงก็ต้องสั่งจำหน่ายคดี
ในคดีที่ศาลสูงสั่งจำหน่ายคดีเพราะหมดอำนาจเหนือคดีนั้นศาลสั่งให้คืนค่าธรรมเนียมฉะเพาะศาลนั้น