พบผลลัพธ์ทั้งหมด 71 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 306/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดทรัพย์และการคำนวณทุนทรัพย์ในคดีบังคับคดี
ผู้ร้องขัดทรัพย์ร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้ 2 รายการคือ ที่ดินและเรือน มีทุนทรัพย์รวมกัน 10,000 บาท (โจทก์นำยึดอ้างว่าที่ดินเป็นของจำเลยที่ 1 เรือนเป็นของจำเลยที่ 2) แม้ผู้ร้องขัดทรัพย์ฎีกาเฉพาะที่ดินซึ่งมีราคาเพียง 4,000 บาท ก็ต้องถือว่าคดีนี้มีทุนทรัพย์ 10,000 บาทจึงไม่ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 941/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมในเรือนและข้าวเปลือกที่ทำมาหากินร่วมกันระหว่างสามีภริยาที่ไม่จดทะเบียนสมรส
โจทก์กับจำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยมิได้จดทะเบียนสมรส ได้ร่วมกันปลูกเรือนในที่ดินของบิดาจำเลย ระหว่างอยู่กินเป็นสามีภริยากัน ย่อมเป็นเจ้าของเรือนร่วมกัน
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่ เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่ เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 941/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์เรือนและข้าวเปลือกจากการอยู่กินฉันสามีภริยา, ปัญหาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
โจทก์กับจำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยมิได้จดทะเบียนสมรสได้ร่วมกันปลูกเรือนในที่ดินของบิดาจำเลย ระหว่างอยู่กินเป็นสามีภริยากัน ย่อมเป็นเจ้าของเรือนร่วมกัน
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้นไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนเพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใดย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่งจำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้วเมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วยจำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้นไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนเพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใดย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่งจำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้วเมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วยจำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่ เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 941/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์เรือนและข้าวเปลือกที่ได้จากการอยู่กินเป็นสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส
โจทก์กับจำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยมิได้จดทะเบียนสมรส. ได้ร่วมกันปลูกเรือนในที่ดินของบิดาจำเลย ระหว่างอยู่กินเป็นสามีภริยากัน ย่อมเป็นเจ้าของเรือนร่วมกัน.
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น. ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน. เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด. ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น. หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่.เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้.
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง. จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว. เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย. จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่. เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น.
ปัญหาที่ว่า เรือนซึ่งโจทก์จำเลยปลูกทำลงไว้ในที่ดินของบิดาจำเลย จะเป็นส่วนควบของที่ดินและตกเป็นกรรมสิทธิ์ของบิดาจำเลยหรือไม่นั้น. ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน. เพราะการที่ทรัพย์สินใดจะเป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนคนใด. ย่อมเป็นเรื่องเฉพาะตัวของบุคคลนั้น. หาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนทั่วไปไม่.เมื่อมิได้หยิบยกขึ้นว่ากล่าวมาในศาลชั้นต้น ย่อมยกขึ้นอุทธรณ์ฎีกามิได้.
โจทก์ฟ้องขอแบ่งข้าวเปลือกซึ่งทำนาร่วมกันจากจำเลยกึ่งหนึ่ง. จำเลยต่อสู้ว่าโจทก์ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของมารดาโจทก์ ซึ่งจำเลยร่วมทำด้วยไป เป็นการแบ่งข้าวเปลือกกันแล้ว. เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงแบ่งกันเช่นนั้น ทั้งโจทก์ก็มิได้รับว่าจำเลยได้ร่วมทำนาของมารดาโจทก์ด้วย. จำเลยจะใช้วิธีการต่างคนต่างเก็บเกี่ยวข้าวกันไป เป็นการหักกลบลบกันไปเช่นนั้นหาได้ไม่. เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีการตกลงกันเช่นนั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1856/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เรือนปลูกบนที่ดินผู้อื่น: การยินยอมของผู้ให้ที่ดินทำให้เรือนไม่เป็นส่วนควบ
จำเลยได้บุตรสาวผูร้องเป็นภริยา และได้ปลูกเรือนพิพาทบนที่ดินของผู้ร้องใช้เป็นที่อยู่อาศัยของจำเลยและภริยา แม้เรือนจะมีลักษณะถาวรติดที่ดิน แต่เมื่อตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าผู้ร้องกับสามียินยอมให้ปลูกเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย กรณีจึงเข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 109 ไม่ถือว่าเรือนพิพาทเป็นส่วนควบกับที่ดินของผู้ร้องและสามี ผู้ร้องจึงไม่อาจร้องขัดทรัพย์เรือนพิพาทของจำเลยที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษานำยึดบังคับคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนบนที่ดิน: สิทธิเหนือพื้นดินสำคัญกว่าการจดทะเบียนซื้อขายฝาก
โจทก์ซื้อเรือนพิพาทก่อนจำเลย โดยโจทก์จดทะเบียนการซื้อขายฝากต่อกรมการอำเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 71 (2) ส่วนจำเลยจดทะเบียนการซื้อขายที่ดินและเรือนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดิน ดังนี้ ตราบใดที่เรือนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ดินจำเลยซื้อมา เรือนย่อมเป็นส่วนควบกับที่ดิน การที่จะก่อตั้งกรรมสิทธิ์ในเรือนแยกออกต่างหากจากที่ดิน จะทำได้ก็โดยการก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1410 โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิติกรรมซื้อขายเรือน หาได้จดทะเบียนก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินโดยให้โจทก์เป็นเจ้าของเรือนพิพาทอันเป็นสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไม่ จำเลยซื้อที่ดินพร้อมด้วยโรงเรือนซึ่งเป็นส่วนควบกับที่ดิน และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว สิทธิของจำเลยในเรือนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนเมื่อที่ดินเปลี่ยนมือ: สิทธิเหนือพื้นดินสำคัญกว่าการจดทะเบียนซื้อขายเรือนก่อน
โจทก์ซื้อเรือนพิพาทก่อนจำเลย โดยโจทก์จดทะเบียนการซื้อขายฝากต่อกรมการอำเภอ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 และประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 71(2). ส่วนจำเลยจดทะเบียนการซื้อขายที่ดินและเรือนพิพาทต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สำนักงานที่ดิน. ดังนี้ตราบใดที่เรือนพิพาทยังปลูกอยู่บนที่ดินที่จำเลยซื้อมา เรือนย่อมเป็นส่วนควบกับที่ดิน. การที่จะก่อตั้งกรรมสิทธิ์ในเรือนแยกออกต่างหากจากที่ดิน จะทำได้ก็โดยการก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1410. โจทก์เพียงแต่จดทะเบียนนิติกรรมซื้อขายเรือน หาได้จดทะเบียนก่อตั้งสิทธิเหนือพื้นดินโดยให้โจทก์เป็นเจ้าของเรือนพิพาทอันเป็นสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินไม่. จำเลยซื้อที่ดินพร้อมด้วยโรงเรือนซึ่งเป็นส่วนควบกับที่ดิน และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว. สิทธิของจำเลยในเรือนพิพาทจึงดีกว่าของโจทก์.
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511).
เมื่อจำเลยยกประเด็นเรื่องทรัพยสิทธิ คือ สิทธิเหนือพื้นดินขึ้นสู้ในคำให้การแล้วคดีจึงมีประเด็นในเรื่องนี้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 13/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2105/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เรือนเป็นส่วนควบของที่ดิน กรรมสิทธิ์ตกเป็นของผู้ซื้อที่ดินเมื่อซื้อเรือน แม้ไม่จดทะเบียน
ผู้ร้องซื้อที่ดินซึ่งเรือนพิพาทปลูกอยู่เมื่อวันที่ 25มกราคม 2508 โดยทำนิติกรรมซื้อขายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่. ในครั้งนั้นจำเลยตั้งใจจะรื้อเรือนพิพาทไปปลูกที่อื่น. จึงไม่ได้ขายเรือนพิพาทให้ผู้ร้องด้วย. ครั้นต่อมาจำเลยไม่มีเงินจะรื้อถอน. จึงได้ขายให้ผู้ร้องเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2508. ดังนี้ เรือนพิพาทตกเป็นส่วนควบของที่ดินของผู้ร้อง. และตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องไปในตัวในทันทีที่ได้ทำสัญญาซื้อขายเรือนพิพาทกันหาจำต้องไปทำการโอนจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 ไม่.(อ้างฎีกาที่ 561/2488,1124/2502).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายเรือนโมฆะ ลาภมิควรได้ และอายุความฟ้องเรียกคืน
เมื่อสัญญาซื้อขายเรือนเป็นโมฆะเพราะมิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เงินซึ่งผู้ขายรับไว้ตามสัญญานั้นก็เป็นลาภมิควรได้ ซึ่งผู้ซื้อจะต้องฟ้องเรียกคืนภายใน 1 ปี นับแต่เวลาที่ผู้ซื้อรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืน หรือภายในสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 366/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายเรือนโมฆะ ลาภมิควรได้ อายุความ 1 ปี
เมื่อสัญญาซื้อขายเรือนเป็นโมฆะ เพราะมิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เงินซึ่งผู้ขายรับไว้ตามสัญญานั้นก็เป็นลาภมิควรได้ ซึ่งผู้ซื้อจะต้องฟ้องเรียกคืน หรือภายในสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น