พบผลลัพธ์ทั้งหมด 440 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2168/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ต้องเสียภาษีการค้าและภาษีเงินได้
โจทก์ขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร จึงเป็นผู้ประกอบการค้าตามประมวลรัษฎากร มาตรา 78 และบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 11 โจทก์ต้องเสียภาษีการค้า โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหา ตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะ เงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40(8)เพราะคำว่า "การอื่น" นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(8) นั้นหมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1) ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2168/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อหากำไร ถือเป็นการค้า ต้องเสียภาษีการค้าและภาษีเงินได้
โจทก์ขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร จึงเป็นผู้ประกอบการค้าตามประมวลรัษฎากร มาตรา 78 และบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภทการค้า 11 โจทก์ต้องเสียภาษีการค้า
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40(8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(8) นั้นหมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(8).
โจทก์ซื้อที่ดินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 และเพิ่งแบ่งที่ดินบางส่วนมาสร้างตึกแถวขึ้นภายหลัง เพื่อประสงค์จะขายตึกแถวพร้อมที่ดินโดยแบ่งเป็นคูหาตึกแถวที่สร้างขึ้นใหม่จึงเป็นตึกแถวที่โจทก์สร้างขึ้นมาเพื่อขายหากำไรโดยเฉพาะเงินได้จากการขายตึกแถวเป็นเงินได้พึงประเมินตามความหมายของประมวลรัษฎากร มาตรา 40(8) เพราะคำว่า 'การอื่น' นอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40(8) นั้นหมายถึงเงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1)ถึง (7) ก็ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(8).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 21/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์จากผู้โอนสิทธิเช่า แม้มีข้อพิพาทเรื่องค่าเช่า
จำเลยโอนสิทธิการเช่าตึกพิพาทให้ก.และได้ส่งมอบตึกพิพาทให้ ก. แล้ว ก. ว่าจ้างโจทก์ซ่อมแซมตึกพิพาทและอนุญาตให้โจทก์กับครอบครัวเข้าอยู่อาศัยในตึกดังกล่าว แม้ต่อมา ก. ไม่ชำระค่าโอนสิทธิการเช่าส่วนที่ค้าง ก็เป็นเรื่องที่จำเลยจะต้องไปว่ากล่าวกับ ก. ในทางแพ่ง การที่จำเลยใช้กุญแจใส่ประตูตึกพิพาทเป็นเหตุให้โจทก์ไม่สามารถเข้าไปใช้ตึกพิพาทได้อีก จึงเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์โดยปกติสุข มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3) แต่ยังถือไม่ได้ว่าการกระทำดังกล่าวของจำเลยเป็นการหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโจทก์ หรือกระทำด้วยประการใดให้โจทก์ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย จึงไม่มีความผิดตามมาตรา 310 วรรคแรก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1922/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณทุนทรัพย์คดีขับไล่ต้องแยกรายจำเลย/อสังหาริมทรัพย์ และใช้มูลค่าตามฟ้อง ไม่ใช่ในชั้นพิจารณา
คดีฟ้องขับไล่ผู้อาศัยออกจากอสังหาริมทรัพย์ซึ่งจำเลยมิได้กล่าวแก้เป็นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์นั้น การคำนวณทุนทรัพย์หรือค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ต้องคำนวณเป็นรายจำเลยแต่ละคน หรือรายอสังหาริมทรัพย์แต่ละแห่งที่จำเลยอาศัยอยู่ และการคำนวณค่าเช่าดังกล่าวต้องคำนวณขณะฟ้อง มิใช่ในชั้นพิจารณา
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยทั้งสองออกจากตึกแถว 3 ชั้นที่โจทก์เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยบรรยายฟ้องว่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 1 อยู่อาศัยอาจให้เช่าไม่เกินเดือนละ1,200 บาท ส่วนชั้นล่างของตึกแถวดังกล่าวที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโจทก์มิได้คำนวณเป็นค่าเช่าแต่อ้างว่า หากโจทก์ประกอบการค้าเองจะมีรายได้ประมาณเดือนละ 3,000 บาท ดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจคำนวณค่าเช่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโดยอาศัยข้อเท็จจริงตามฟ้องดังกล่าวได้ ซึ่งเมื่อคำนวณเป็นค่าเช่าไม่น่าจะเกินเดือนละ 2,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยทั้งสองออกจากตึกแถว 3 ชั้นที่โจทก์เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยบรรยายฟ้องว่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 1 อยู่อาศัยอาจให้เช่าไม่เกินเดือนละ1,200 บาท ส่วนชั้นล่างของตึกแถวดังกล่าวที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโจทก์มิได้คำนวณเป็นค่าเช่าแต่อ้างว่า หากโจทก์ประกอบการค้าเองจะมีรายได้ประมาณเดือนละ 3,000 บาท ดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจคำนวณค่าเช่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโดยอาศัยข้อเท็จจริงตามฟ้องดังกล่าวได้ ซึ่งเมื่อคำนวณเป็นค่าเช่าไม่น่าจะเกินเดือนละ 2,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1922/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณทุนทรัพย์คดีขับไล่ ต้องแยกรายจำเลย/อสังหาริมทรัพย์ และคำนวณตามฟ้อง มิใช่ในชั้นพิจารณา
คดีฟ้องขับไล่ผู้อาศัยออกจากอสังหาริมทรัพย์ซึ่งจำเลยมิได้กล่าวแก้เป็นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์นั้น การคำนวณทุนทรัพย์หรือค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ต้องคำนวณเป็นรายจำเลยแต่ละคนหรือรายอสังหาริมทรัพย์แต่ละแห่งที่จำเลยอาศัยอยู่ และการคำนวณค่าเช่าดังกล่าวต้องคำนวณขณะฟ้องมิใช่ในชั้นพิจารณา โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยทั้งสองออกจากตึกแถว 3 ชั้นที่โจทก์เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยบรรยายฟ้องว่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 1 อยู่อาศัยอาจให้เช่าไม่เกินเดือนละ 1,200บาท ส่วนชั้นล่างของตึกแถวดังกล่าวที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโจทก์มิได้คำนวณเป็นค่าเช่าแต่อ้างว่า หากโจทก์ประกอบการค้าเองจะมีรายได้ประมาณเดือนละ 3,000 บาท ดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจคำนวณค่าเช่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโดยอาศัยข้อเท็จจริงตามฟ้องดังกล่าวได้ ซึ่งเมื่อคำนวณเป็นค่าเช่าไม่น่าจะเกินเดือนละ 2,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1922/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณทุนทรัพย์คดีขับไล่ ต้องแยกคำนวณรายจำเลย/อสังหาริมทรัพย์ และใช้ค่าตามฟ้อง ไม่ใช่ชั้นพิจารณา
คดีฟ้องขับไล่ผู้อาศัยออกจากอสังหาริมทรัพย์ซึ่งจำเลยมิได้กล่าวแก้เป็นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์นั้น การคำนวณทุนทรัพย์หรือค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ต้องคำนวณเป็นรายจำเลยแต่ละคน หรือรายอสังหาริมทรัพย์แต่ละแห่งที่จำเลยอาศัยอยู่ และการคำนวณค่าเช่าดังกล่าวต้องคำนวณขณะฟ้อง มิใช่ในชั้นพิจารณา
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยทั้งสองออกจากตึกแถว 3 ชั้นที่โจทก์เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยบรรยายฟ้องว่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 1 อยู่อาศัยอาจให้เช่าไม่เกินเดือนละ1,200 บาท ส่วนชั้นล่างของตึกแถวดังกล่าวที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโจทก์มิได้คำนวณเป็นค่าเช่าแต่อ้างว่า หากโจทก์ประกอบการค้าเองจะมีรายได้ประมาณเดือนละ 3,000 บาท ดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจคำนวณค่าเช่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโดยอาศัยข้อเท็จจริงตามฟ้องดังกล่าวได้ ซึ่งเมื่อคำนวณเป็นค่าเช่าไม่น่าจะเกินเดือนละ 2,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง.
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยทั้งสองออกจากตึกแถว 3 ชั้นที่โจทก์เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยบรรยายฟ้องว่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 1 อยู่อาศัยอาจให้เช่าไม่เกินเดือนละ1,200 บาท ส่วนชั้นล่างของตึกแถวดังกล่าวที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโจทก์มิได้คำนวณเป็นค่าเช่าแต่อ้างว่า หากโจทก์ประกอบการค้าเองจะมีรายได้ประมาณเดือนละ 3,000 บาท ดังนี้ศาลย่อมมีอำนาจคำนวณค่าเช่าตึกแถวชั้นที่จำเลยที่ 2 อยู่อาศัยโดยอาศัยข้อเท็จจริงตามฟ้องดังกล่าวได้ ซึ่งเมื่อคำนวณเป็นค่าเช่าไม่น่าจะเกินเดือนละ 2,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 864/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการครอบครองปรปักษ์ vs. เจ้าหนี้ที่บังคับคดี: การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยไม่จดทะเบียนและผลกระทบต่อบุคคลภายนอก
ป.พ.พ. มาตรา 1299 วรรคสองบัญญัติว่า สิทธิของผู้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรมและยังมิได้จดทะเบียนสิทธิต้องห้ามมิให้ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตและได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว โจทก์เป็นเพียงเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาผู้นำยึดที่ดินพิพาทเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ โจทก์จึงมิใช่ผู้ที่ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทน โดยสุจริตและได้จดทะเบียนสิทธิแล้วตามความในมาตราดังกล่าว โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินซึ่งมีชื่อ จำเลยเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม 23 โฉนด เพื่อบังคับตามคำพิพากษาระหว่างบังคับคดี ผู้ร้องเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยขอให้ศาลพิพากษาว่าผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวโดยการครอบครองปรปักษ์ต่อมาผู้ร้องได้ยื่นคำร้องขัดทรัพย์ในคดีนี้อ้างว่าได้กรรมสิทธิ์ที่ดินทั้ง 23 โฉนด โดยการครอบครองปรปักษ์เช่นกัน ดังนี้มิใช่เรื่องฟ้องซ้อนตาม ป.วิ.พ. มาตรา 173 เพราะคำร้องขัดทรัพย์เป็นเรื่องผู้ร้องพิพาทกับโจทก์และมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า จะปล่อยทรัพย์ที่ยึดหรือไม่ ส่วนคดีที่ผู้ร้องฟ้องจำเลย มิได้ฟ้องโจทก์ด้วยทั้งมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่าที่ดินทั้ง 23 โฉนด เป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องหรือไม่ ไม่ชอบที่ศาลจะสั่งงดสืบพยานของผู้ร้องแล้วพิพากษายกคำร้องเสียสมควรฟังข้อเท็จจริงต่อไปให้สิ้นกระแสความก่อน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 864/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิอสังหาริมทรัพย์: การได้มาโดยครอบครอง vs. เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและสุจริต
โจทก์เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและนำยึดที่ดินพิพาทเพื่อขายทอดตลาดเอาเงินชำระหนี้ โจทก์จึงมิใช่ผู้ได้สิทธิมาโดยเสียค่าตอบแทนโดยสุจริต และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 วรรคสอง
คดีก่อนผู้ร้องฟ้องจำเลยอ้างว่า ที่ดินพิพาทเป็นของผู้ร้องโดยจำเลยขายให้ คดีถึงที่สุดโดยศาลวินิจฉัยว่าสัญญาซื้อขายระหว่างผู้ร้องกับจำเลยเป็นโมฆะ ผู้ร้องไม่ได้กรรมสิทธิ์ คดีนี้ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์อ้างว่า ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครอง เหตุที่อ้างได้กรรมสิทธิ์จึงเป็นคนละเหตุกันไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คดีเดิมที่ผู้ร้องเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยโดยมิได้ฟ้องโจทก์ด้วยนั้นประเด็นมีว่าที่ดินพิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องหรือไม่ ส่วนคดีนี้เป็นเรื่องผู้ร้องพิพาทกับโจทก์ ประเด็นมีว่าจะปล่อยทรัพย์ที่ยึดไว้หรือไม่ จึงไม่เป็นฟ้องซ้อนกับคดีเดิม.
คดีก่อนผู้ร้องฟ้องจำเลยอ้างว่า ที่ดินพิพาทเป็นของผู้ร้องโดยจำเลยขายให้ คดีถึงที่สุดโดยศาลวินิจฉัยว่าสัญญาซื้อขายระหว่างผู้ร้องกับจำเลยเป็นโมฆะ ผู้ร้องไม่ได้กรรมสิทธิ์ คดีนี้ผู้ร้องร้องขัดทรัพย์อ้างว่า ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครอง เหตุที่อ้างได้กรรมสิทธิ์จึงเป็นคนละเหตุกันไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คดีเดิมที่ผู้ร้องเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยโดยมิได้ฟ้องโจทก์ด้วยนั้นประเด็นมีว่าที่ดินพิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ร้องหรือไม่ ส่วนคดีนี้เป็นเรื่องผู้ร้องพิพาทกับโจทก์ ประเด็นมีว่าจะปล่อยทรัพย์ที่ยึดไว้หรือไม่ จึงไม่เป็นฟ้องซ้อนกับคดีเดิม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5615/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์: เกณฑ์กำหนดราคาค่าทดแทนตามกฎหมาย
วิธีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัติทางหลวงพุทธศักราช 2482 หรือประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับ 295 มีวิธีปฏิบัติอย่างเดียวกัน คืออาจกระทำโดยออกพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ โดยไม่ต้องออกพระราชกฤษฎีกาก็ได้ดังนั้น เงินค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 295 ข้อ 76(3) ที่ให้ถือเอาวันที่พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ใช้บังคับนั้น จึงต้องหมายถึงกรณีที่มิได้มีการออกพระราชกฤษฎีกา แต่ถ้ามีการออกพระราชกฤษฎีกาก่อนที่จะออกพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เงินค่าทดแทนที่ให้กำหนดเท่าราคาธรรมดาที่ซื้อขายกันในท้องตลาด ก็จะต้องเอาราคาในวันที่พระราชกฤษฎีกาใช้บังคับตามข้อ 76(1) หรือ(2)แล้วแต่กรณี ทำนองเดียวกันกับเรื่องทรัพย์สินที่จะคำนวณค่าทดแทนตามข้อ 75.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 460/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คดีอสังหาริมทรัพย์แม้ทุนทรัพย์น้อยกว่า 20,000 บาท ย่อมทำได้ตามกฎหมาย
ทรัพย์ที่ถูกยึดเป็นเรือนทรงไทย 2 หลังแฝด เป็นอสังหาริมทรัพย์แม้คดีจะมีทุนทรัพย์ไม่เกิน 20,000 บาท ก็ไม่ต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 224.