พบผลลัพธ์ทั้งหมด 473 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3292/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามตาม ม.218 วรรคแรก ปัญหาข้อเท็จจริง-การแก้ไขโทษเล็กน้อย ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดในข้อหาปลอมเอกสารตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264265 ให้จำคุก 2 ปีศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265 จำคุก 1 ปี เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์มิได้แก้ บทมาตราแห่งความผิด เพียงแต่ ปรับบทกฎหมายที่ลงโทษให้ถูกต้อง และยังคงลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี จึงเป็นการแก้ไขเล็กน้อย ห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงในข้อหาปลอมเอกสารตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218วรรคแรก จำเลยฎีกาว่า คำพยานโจทก์ไม่น่าเชื่อ ยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยกระทำความผิดข้อหานี้ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง จำเลยฎีกาขอให้รอการลงโทษ หรือลงโทษสถานเบาในข้อหามีอาวุธปืนไว้ในครอบครองโดย ไม่ได้รับอนุญาต เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง เมื่อความผิดข้อหานี้ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตาม ศาลชั้นต้นให้ลงโทษจำคุกไม่เกินห้าปี ฎีกาของจำเลยจึงต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 วรรคแรก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2551/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการฎีกาในคดีอาญา: ดุลพินิจโทษและแก้ไขโทษจำคุก
ฎีกาโต้เถียงดุลพินิจของศาลอุทธรณ์ที่พิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยและให้รอการลงโทษไว้ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่นโดยป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 69ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 2 ปี และศาลอุทธรณ์ลงโทษไม่เกินกำหนดนี้ โจทก์ต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 ที่แก้ไขแล้วส่วนความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบมาตรา 69 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 ปี 8 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นให้ลงโทษจำคุก 1 ปี 4 เดือน และให้รอการลงโทษไว้ แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี แต่เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก กล่าวคือนอกจากแก้โทษจำคุกให้เบาลงแล้วยังให้รอการลงโทษไว้ด้วย จึงไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218.
ความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่นโดยป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบด้วยมาตรา 80 และมาตรา 69ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 2 ปี และศาลอุทธรณ์ลงโทษไม่เกินกำหนดนี้ โจทก์ต้องห้ามมิให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 ที่แก้ไขแล้วส่วนความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบมาตรา 69 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 ปี 8 เดือน ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นให้ลงโทษจำคุก 1 ปี 4 เดือน และให้รอการลงโทษไว้ แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี แต่เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขมาก กล่าวคือนอกจากแก้โทษจำคุกให้เบาลงแล้วยังให้รอการลงโทษไว้ด้วย จึงไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2533 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับวินิจฉัย: การแก้ไขโทษเล็กน้อยโดยศาลอุทธรณ์ และการโต้แย้งดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐาน
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 กระทง กระทงละ 3 ปีรวมจำคุก 6 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้โดยระบุวรรคของบทกฎหมายที่ยกขึ้นปรับลงโทษจำเลยเสียให้ชัดเจน และแก้โทษเป็นจำคุกกระทงละ 2 ปี รวมเป็นจำคุก 4 ปี เป็นการแก้ไขเล็กน้อย โดยยังคงลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินกระทงละ 5 ปี ต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 วรรคแรก
ฎีกาจำเลยที่ว่า พยานโจทก์มีพิรุธ ขัดแย้งกันเองฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิดนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ฎีกาจำเลยที่ว่า พยานโจทก์มีพิรุธ ขัดแย้งกันเองฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิดนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2533 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขโทษทางอาญาโดยศาลอุทธรณ์และการจำกัดสิทธิในการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลยฐานความผิดต่อ พ.ร.บ. ป่าไม้2 กระทง กระทงละ 3 ปี รวมจำคุก 6 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้โดยระบุวรรคของบทกฎหมายที่ยกขึ้นปรับ ลงโทษจำเลยให้ชัดเจนและแก้โทษเป็นจำคุกกระทงละ 2 ปี รวมจำคุก 4 ปี ดังนี้เป็นกรณีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขคำพิพากษาศาลชั้นต้นเล็กน้อย โดยยังคงลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกิน 5 ปี ต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 218 วรรคแรก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2550/2533
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขโทษทางอาญาเล็กน้อยโดยศาลอุทธรณ์ และข้อจำกัดการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 2 กระทง กระทงละ 3 ปีรวมจำคุก 6 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้โดย ระบุวรรคของบทกฎหมายที่ยกขึ้นปรับลงโทษจำเลยเสียให้ชัดเจน และแก้ โทษเป็นจำคุกกระทงละ2 ปี รวมเป็นจำคุก 4 ปี เป็นการแก้ไขเล็กน้อย โดย ยังคงลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินกระทงละ 5 ปี ต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218วรรคแรก ฎีกาจำเลยที่ว่า พยานโจทก์มีพิรุธ ขัดแย้งกันเองฟังไม่ได้ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำผิดนั้น เป็นการโต้แย้งดุลพินิจ ในการรับฟังพยานหลักฐานของศาลอุทธรณ์เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 452/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการแก้ไขโทษในชั้นอุทธรณ์และการห้ามฎีกาในข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้รอการกำหนดโทษจำเลยไว้เป็นเวลา ๕ ปี โดยกำหนดเงื่อนไขคุมประพฤติจำเลยไว้เป็นเวลา ๑ ปี แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่า ให้ลงโทษปรับจำเลยโดยไม่รอการกำหนดโทษซึ่งถือว่าเป็นการแก้ไขมากก็ตาม แต่ศาลอุทธรณ์ก็ลงโทษปรับจำเลยเพียงกระทงละไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๙.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 452/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: การโต้แย้งข้อเท็จจริงหลังศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษเป็นปรับ
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้รอการกำหนดโทษจำเลยไว้เป็นเวลา5 ปี โดยกำหนดเงื่อนไขคุมประพฤติจำเลยไว้เป็นเวลา 1 ปีแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่า ให้ลงโทษปรับจำเลยโดยไม่รอการกำหนดโทษซึ่งถือว่าเป็นการแก้ไขมากก็ตามแต่ศาลอุทธรณ์ก็ลงโทษปรับจำเลยเพียงกระทงละไม่เกิน10,000 บาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 219.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 452/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219 กรณีศาลอุทธรณ์แก้ไขโทษเป็นปรับ
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้รอการกำหนดโทษจำเลยไว้เป็นเวลา 5 ปีโดยกำหนดเงื่อนไขคุมประพฤติจำเลยไว้เป็นเวลา 1 ปี แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่าให้ลงโทษปรับจำเลยโดยไม่รอการกำหนดโทษซึ่งถือว่าเป็นการแก้ไขมากก็ตาม แต่ศาลอุทธรณ์ก็ลงโทษปรับจำเลยเพียงกระทงละไม่เกิน 10,000 บาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 452/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขโทษจากรอการกำหนดโทษเป็นลงโทษปรับและการจำกัดการฎีกาในข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้รอการกำหนดโทษจำเลยไว้เป็นเวลา 5 ปี โดยกำหนดเงื่อนไขคุมประพฤติจำเลยไว้เป็นเวลา 1 ปี แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่า ให้ลงโทษปรับจำเลยโดยไม่รอการกำหนดโทษซึ่งถือว่าเป็นการแก้ไขมากก็ตาม แต่ศาลอุทธรณ์ก็ลงโทษปรับจำเลยเพียงกระทงละไม่เกิน 10,000 บาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3473/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุผลแห่งการพิพากษาชิงทรัพย์เกินคำขอ, เหตุสงสัยผู้ต้องหา, การแก้ไขโทษที่ศาลล่าง
จำเลยถูกฟ้องหลายข้อหาในคดีที่มีข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลย เมื่อจำเลยฎีกาในข้อหาที่ไม่ต้องห้ามฎีกาหากศาลฎีกาเห็นว่า คดีมีเหตุสงสัยตามสมควรว่าจำเลยไม่ได้เป็นคนร้าย ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในข้อหาที่ต้องห้ามฎีกาได้ด้วย เมื่อคำฟ้องของโจทก์มิได้บรรยายมาว่าการชิงทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้เสียหายได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ไม่มีรายงานการตรวจชันสูตรบาดแผลแนบท้ายฟ้องทั้งผู้เสียหายก็มิได้เบิกความว่าได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ดังนี้จำเลยย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสอง, 340 ตรี เท่านั้น การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 วรรคสาม, 340 ตรีจึงเป็นการพิพากษาเกินคำขอของโจทก์ ศาลชั้นต้นปรับบทลงโทษโดยเพียงแต่ระบุมาตรา มิได้ระบุวรรคให้ชัดเจนนั้น แม้จำเลยจะมิได้อุทธรณ์ฎีกาแต่เมื่อคดีขึ้นมาสู่การพิจารณาของศาลฎีกาแล้วศาลฎีกาแก้ไขให้ถูกต้องและชัดเจนได้