พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1165/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดี: สิทธิในการฟ้องคดีใหม่ vs. การขอให้พิจารณาคดีใหม่
เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีเพราะโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณา การที่โจทก์ร้องขอให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปหรือขอให้นัดสืบพยานจำเลยซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนต่อไปโดยอ้างเหตุว่าโจทก์ไม่จงใจขาดนัดนั้น ก็คือการขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่นั่นเอง
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่นคำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้วและพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณา โดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจเพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจ จะกล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสองและศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่นคำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้วและพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณา โดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจเพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจ จะกล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสองและศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1165/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณา - สิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ - การจำหน่ายคดี - ฟ้องคดีใหม่
เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีเพราะโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณา การที่โจทก์ร้องขอให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปหรือขอให้นัดสืบพยานจำเลยซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนต่อไปโดยอ้างเหตุว่าโจทก์ไม่จงใจขาดนัดนั้น ก็คือการขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่นั่นเอง
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่น คำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้ว และพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจ เพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจจะ กล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง และศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่น คำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้ว และพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจ เพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจจะ กล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง และศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 622/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอพิจารณาคดีใหม่ต้องแสดงเหตุผลชัดเจนว่าหากพิจารณาใหม่ ศาลอาจพิพากษาต่างไปจากเดิม
คำขอให้พิจารณาคดีใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 นั้น ข้อคัดค้านคำตัดสินชี้ขาดของศาลจะต้องชัดแจ้งเพื่อแสดงว่าตนอาจชนะคดีได้อย่างไรบ้าง มิใช่กล่าวแต่เพียงว่าสามารถพิสูจน์ได้ว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ไม่เกินสามแสนบาทเท่านั้น โดยไม่มีเหตุผลหรือหลักฐานอ้างอิงที่จะแสดงให้เห็นได้ชัดแจ้งว่าหากพิจารณาใหม่แล้ว ศาลอาจพิพากษาให้ผิดแผกแตกต่างไปจากที่ได้พิพากษาไปแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ถูกฟ้องมีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้
โจทก์นำเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียก และสำเนาฟ้องให้แก่จำเลยที่บ้านเรือนของจำเลยไม่พบจำเลยบุตรของจำเลยว่าจำเลยไปธุระแต่ไม่ยอมรับหมายแทนแล้วโจทก์ยังแถลงยืนยันว่าจำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ตามฟ้องและว่าส่วนมากจำเลยจะอยู่บ้านไม่ค่อยจะไปไหน ดังนี้จะถือว่ากรณีเป็นเรื่องไม่สามารถส่งโดยวิธีธรรมดาได้ยังไม่ชอบ ถ้าศาลสั่งอนุญาตให้ลงโฆษณาทางหนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายโดยวิธีธรรมดาก็เป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 จะถือว่าจำเลยได้ทราบประกาศการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องแล้วโดยผลของกฎหมายไม่ได้ และการส่งคำบังคับก็ได้กระทำโดยการโฆษณาทางหนังสือพิมพ์อีก ย่อมเป็นกระบวนพิจารณาที่ขัดต่อกฎหมายเช่นกัน ต่อมาจำเลยถูกยึดทรัพย์เมื่อการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้อง และการส่งคำบังคับกระทำไปโดยไม่ชอบ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1546/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและคำบังคับโดยชอบด้วยกฎหมาย การพิจารณาคดีใหม่ และสิทธิของผู้ถูกบังคับคดี
โจทก์นำเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องให้แก่จำเลยที่บ้านเรือนของจำเลย ไม่พบจำเลย บุตรจำเลยว่าจำเลยไปธุระแต่ไม่ยอมรับหมายแทน แล้วโจทก์ยังแถลงยืนยันว่าจำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ตามฟ้องและว่าส่วนมากจำเลยจะอยู่บ้านไม่ค่อยจะไปไหน ดังนี้ จะถือว่ากรณีเป็นเรื่องไม่สามารถส่งโดยวิธีธรรมดาได้ยังไม่ชอบถ้าศาลสั่งอนุญาตให้ลงโฆษณาทางหนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายโดยวิธีธรรมดาก็เป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 จะถือว่าจำเลยได้ทราบประกาศการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องแล้วโดยผลของกฎหมายไม่ได้ และการส่งคำบังคับก็ได้กระทำโดยการโฆษณาทางหนังสือพิมพ์อีก ย่อมเป็นกระบวนพิจารณาที่ขัดต่อกฎหมายเช่นกัน ต่อมาจำเลยถูกยึดทรัพย์เมื่อการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องและการส่งคำบังคับได้กระทำไปโดยไม่ชอบ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 208/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอพิจารณาคดีใหม่ต้องระบุเหตุคัดค้านคำตัดสินในคำร้องโดยชัดแจ้ง การกล่าวอ้างในคำแก้อุทธรณ์ใช้ไม่ได้
การขอให้พิจารณาคดีใหม่เป็นกระบวนพิจารณาซึ่งคู่ความฝ่ายที่ขาดนัดและแพ้คดีจะต้องร้องขอต่อศาลชั้นต้น ดังนั้นคู่ความดังกล่าวจะต้องกล่าวคำคัดค้านคำตัดสินของศาลในคำร้องขอให้พิจารณาใหม่โดยชัดแจ้ง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 จะไปกล่าวไว้ในคำแก้อุทธรณ์หาได้ไม่ เมื่อไม่ปฏิบัติให้ถูกต้อง ย่อมเป็นคำร้องที่ไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 208/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอพิจารณาคดีใหม่ต้องกล่าวคัดค้านคำตัดสินในคำร้องโดยชัดเจน การกล่าวไว้ในคำแก้อุทธรณ์ใช้ไม่ได้
การขอให้พิจารณาคดีใหม่เป็นกระบวนพิจารณาซึ่งคู่ความฝ่ายที่ขาดนัดและแพ้คดีจะต้องร้องขอต่อศาลชั้นต้น ดังนั้นคู่ความดังกล่าวจะต้องกล่าวคำคัดค้านคำตัดสินของศาลในคำร้องขอให้พิจารณาใหม่โดยชัดแจ้ง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 จะไปกล่าวไว้ในคำแก้อุทธรณ์หาได้ไม่ เมื่อไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องย่อมเป็นคำร้องที่ไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1079/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ระยะเวลาการขอพิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา 208 วรรคสุดท้าย พ.ร.บ.วิธีพิจารณาความแพ่ง: กำหนดเวลา 15 วัน และ 6 เดือน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 กำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ไว้เป็น 2 ระยะตามลำดับกัน กล่าวคือในกรณีแรกต้องยื่นคำขอต่อศาลภายใน 15 วัน นับแต่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งให้แก่จำเลย และหากศาลได้กำหนดวิธีการอย่างใดเพื่อส่งคำบังคับโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอื่นแทนแล้ว ก็นับกำหนดระยะเวลาต่อเมื่อได้มีการปฏิบัติตามคำกำหนดนั้นแล้ว ในกรณีที่สอง หากมีพฤติการณ์อันนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ อันเป็นเหตุให้คู่ความนั้นไม่อาจยื่นคำขอภายในกำหนดเวลาตามกรณีแรก คู่ความนั้นยังมีสิทธิยื่นคำขอได้อีกภายใน 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นั้นสิ้นสุดลง
ส่วนความตอนท้ายของบทบัญญัติดังกล่าวซึ่งห้ามมิให้ยื่นคำขอเมื่อพ้นกำหนดเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือมีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งอื่นโดยวิธีอื่นนั้น เป็นเพียงบทกำหนดระยะเวลาไว้ว่า แม้จะมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ หากพฤติการณ์นอกเหนือนั้นทำให้การยื่นคำขอล่าช้าเกินกว่า 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งแล้ว คู่ความนั้นจะยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ และกำหนดระยะเวลา 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้สิ้นสุดลงที่ให้สิทธิคู่กรณียื่นคำขอพิจารณาใหม่ในกรณีที่สองดังกล่วนั้น ก็ต้องอยู่ในบังคับกำหนดเวลา 6 เดือน ตามความตอนท้ายของวรรคแรกแห่งบทบัญญัตินี้ด้วย
ส่วนความตอนท้ายของบทบัญญัติดังกล่าวซึ่งห้ามมิให้ยื่นคำขอเมื่อพ้นกำหนดเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือมีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งอื่นโดยวิธีอื่นนั้น เป็นเพียงบทกำหนดระยะเวลาไว้ว่า แม้จะมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ หากพฤติการณ์นอกเหนือนั้นทำให้การยื่นคำขอล่าช้าเกินกว่า 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งแล้ว คู่ความนั้นจะยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ และกำหนดระยะเวลา 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้สิ้นสุดลงที่ให้สิทธิคู่กรณียื่นคำขอพิจารณาใหม่ในกรณีที่สองดังกล่วนั้น ก็ต้องอยู่ในบังคับกำหนดเวลา 6 เดือน ตามความตอนท้ายของวรรคแรกแห่งบทบัญญัตินี้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1079/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ระยะเวลาการขอพิจารณาคดีใหม่ตามมาตรา 208 วรรคแรก บทบัญญัติเกี่ยวกับการยื่นคำขอภายใน 6 เดือนหลังยึดทรัพย์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 กำหนดระยะเวลาการใช้สิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ไว้เป็น 2 ระยะตามลำดับกัน กล่าวคือในกรณีแรกต้องยื่นคำขอต่อศาลภายใน 15 วัน นับแต่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งให้แก่จำเลย และหากศาลได้กำหนดวิธีการอย่างใดเพื่อส่งคำบังคับโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอื่นแทนแล้วก็นับกำหนดระยะเวลาต่อเมื่อได้มีการปฏิบัติตามคำกำหนดนั้นแล้วในกรณีที่สอง หากมีพฤติการณ์อันนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ อันเป็นเหตุให้คู่ความนั้นไม่อาจยื่นคำขอภายในกำหนดเวลาตามกรณีแรก คู่ความนั้นยังมีสิทธิยื่นคำขอได้อีกภายใน 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นั้นสิ้นสุดลง
ส่วนความตอนท้ายของบทบัญญัติดังกล่าวซึ่งห้ามมิให้ยื่นคำขอเมื่อพ้นกำหนดเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือมีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งโดยวิธีอื่นนั้นเป็นเพียงบทกำหนดระยะเวลาไว้ว่าแม้จะมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ หากพฤติการณ์นอกเหนือนั้นทำให้การยื่นคำขอล่าช้าเกินกว่า 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งแล้ว คู่ความนั้นจะยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ และกำหนดระยะเวลา 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้สิ้นสุดลง ที่ให้สิทธิคู่กรณียื่นคำขอพิจารณาใหม่ในกรณีที่สองดังกล่าวนั้น ก็ต้องอยู่ในบังคับกำหนดเวลา6 เดือนตามความตอนท้ายของวรรคแรกแห่งบทบัญญัตินี้ด้วย
ส่วนความตอนท้ายของบทบัญญัติดังกล่าวซึ่งห้ามมิให้ยื่นคำขอเมื่อพ้นกำหนดเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือมีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งโดยวิธีอื่นนั้นเป็นเพียงบทกำหนดระยะเวลาไว้ว่าแม้จะมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ หากพฤติการณ์นอกเหนือนั้นทำให้การยื่นคำขอล่าช้าเกินกว่า 6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์ หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งแล้ว คู่ความนั้นจะยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ และกำหนดระยะเวลา 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้สิ้นสุดลง ที่ให้สิทธิคู่กรณียื่นคำขอพิจารณาใหม่ในกรณีที่สองดังกล่าวนั้น ก็ต้องอยู่ในบังคับกำหนดเวลา6 เดือนตามความตอนท้ายของวรรคแรกแห่งบทบัญญัตินี้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1900/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่พ้นกำหนดระยะเวลาตามกฎหมาย และการนับวันหยุดราชการ
ศาลชั้นต้นประกาศคำบังคับโดยทางหนังสือเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2511 โดยกำหนดให้จำเลยปฏิบัติตามคำพิพากษาให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 คำบังคับมีผลใช้ได้ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2511 ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 วรรค 2 ให้บังผลใช้ได้ต่อเมื่อกำหนดเวลา 15 วันล่วงพ้นไปแล้ว แต่คำขอให้พิจารณาใหม่ต้องยื่นภายใน 15 วันนับจากวันที่ส่งบังคับ ฉะนั้น เมื่อนับจากวันที่ 13 ตุลาคม 2511 ก็ครบกำหนดในวันที่ 27 ตุลาคม 2511 ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีคำสั่งใหม่ได้ภายในวันที่ 28 ตุลาคม 2511 แต่จำเลยยื่นคำร้องวันที่ 30ตุลาคม 2511
จำเลยทราบประกาศคำบังคับวันที่ 24 ตุลาคม 2511 สามารถยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ในวันที่ 25 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2511 ซึ่งอยู่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยเคยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 25 ตุลาคม 2511 แต่คำร้องฉบับนั้นถูกศาลสั่งยกไปแล้ว จำเลยยืนคำร้องฉบับลงวันที่ 30 ตุลาคม 2511 พ้นระยะเวลาที่จะยื่นได้โดยไม่ได้แสดงเหตุแห่งการล่าช้า ศาลจึงไม่อาจรับไว้พิจารณา
จำเลยทราบประกาศคำบังคับวันที่ 24 ตุลาคม 2511 สามารถยื่นคำร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ในวันที่ 25 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2511 ซึ่งอยู่ภายในระยะเวลาที่กฎหมายบัญญัติ จำเลยเคยยื่นคำร้องฉบับลงวันที่ 25 ตุลาคม 2511 แต่คำร้องฉบับนั้นถูกศาลสั่งยกไปแล้ว จำเลยยืนคำร้องฉบับลงวันที่ 30 ตุลาคม 2511 พ้นระยะเวลาที่จะยื่นได้โดยไม่ได้แสดงเหตุแห่งการล่าช้า ศาลจึงไม่อาจรับไว้พิจารณา