พบผลลัพธ์ทั้งหมด 555 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4274/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์: กำหนดเวลาการแจ้งรับเงินค่าทดแทน, การคำนวณดอกเบี้ย, และขอบเขตการเวนคืน
หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 จะต้องเป็นการแจ้งให้มารับเงินค่าทดแทนซึ่งได้จัดเตรียมการจ่ายไว้แล้วโดยไม่ต้องกระทำการอย่างอื่นอีก หากหนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่เป็นกรณีที่ยังสามารถดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งอีกโดยยังไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ก็ไม่ใช่หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง ดังกล่าว
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทน เอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1 ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วันจำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มาตรา19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาล โจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2530 มาตรา 26 วรรคสาม ส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15มีนาคม 2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่ 26 เมษายน2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทยจำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทน เอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1 ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วันจำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มาตรา19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาล โจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2530 มาตรา 26 วรรคสาม ส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15มีนาคม 2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่ 26 เมษายน2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4274/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดิน: ศาลฎีกาวินิจฉัยค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพิ่มเติม พร้อมดอกเบี้ย
หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 จะต้องเป็นการแจ้งให้มารับเงินค่าทดแทนซึ่งได้จัดเตรียมการจ่ายไว้แล้วโดยไม่ต้องกระทำการอย่างอื่นอีก หากหนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่เป็นกรณีที่ยังสามารถดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งอีกโดยยังไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ก็ไม่ใช่หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง ดังกล่าว
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทนเอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วัน จำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม 2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่ 841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯ ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาลโจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 26 วรรคสามส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10 จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน 13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก 5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่26 เมษายน 2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทนเอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วัน จำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม 2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่ 841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯ ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาลโจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 26 วรรคสามส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10 จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน 13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก 5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่26 เมษายน 2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4274/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดิน: ศาลปรับเพิ่มค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วันวางเงิน
หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 จะต้องเป็นการแจ้งให้มารับเงินค่าทดแทนซึ่งได้จัดเตรียมการจ่ายไว้แล้วโดยไม่ต้องกระทำการอย่างอื่นอีก หากหนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่เป็นกรณีที่ยังสามารถดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งอีกโดยยังไม่ต้องจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ก็ไม่ใช่หนังสือแจ้งของเจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง ดังกล่าว
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทนเอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วัน จำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม 2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่ 841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯ ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาลโจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 26 วรรคสามส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10 จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน 13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก 5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่26 เมษายน 2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
หนังสือที่จำเลยมีถึงโจทก์ผู้ถูกเวนคืนระบุเรื่องว่า ขอเชิญให้ไปติดต่อขอรับเงินค่าทดแทนและสิ่งที่ส่งมากับหนังสือดังกล่าวเป็นหนังสือแสดงรายการเอกสารที่ต้องใช้ในการทำสัญญาเกี่ยวกับค่าทดแทน และมีข้อความในหมายเหตุอีกว่า ในกรณีที่โจทก์ไม่ตกลงทำสัญญา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย จำเลยที่ 1 จะทำการวางเงินค่าทดแทนเอกสารดังกล่าวจึงเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มาทำสัญญาซื้อขายตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2530 แล้ว
สำหรับขั้นตอนในการดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนของจำเลยทั้งสองนั้น หลังจากมีการทำสัญญาซื้อขายต่อกันแล้ว จำเลยที่ 1 จะมีหนังสือแจ้งโจทก์ผู้ถูกเวนคืนให้มารับเงินค่าทดแทนในภายหลังอีกครั้งหนึ่ง แต่โจทก์ไม่ได้มาทำสัญญาซื้อขายกับจำเลยที่ 1ต่อมาเมื่อครบกำหนด 60 วัน จำเลยที่ 1 จึงได้นำเงินค่าทดแทนไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์และมีหนังสือถึงโจทก์เรื่องแจ้งการวางเงินค่าทดแทน ซึ่งมีข้อความให้โจทก์ไปรับเงินค่าทดแทนได้โดยไม่มีข้อที่จะดำเนินการอย่างอื่นอีก ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าหนังสือดังกล่าวเป็นการแจ้งโจทก์ให้มารับเงินค่าทดแทนตามมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์ได้รับหนังสือฉบับดังกล่าวเมื่อไร และหนังสือฉบับดังกล่าวลงวันที่ 15 มีนาคม 2534 ดังนั้น โจทก์จะต้องได้รับหนังสือไม่เร็วกว่าวันที่ 15 มีนาคม 2534 โจทก์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันที่ 13 พฤษภาคม 2534 ไม่เกินหกสิบวัน จึงเป็นการอุทธรณ์ภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แล้ว โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ได้
อาคารโกดังคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวของโจทก์มีเนื้อที่ 841.30 ตารางเมตร ตรงกับเนื้อที่ตามฟ้องของโจทก์ แม้อาคารหลังนี้อยู่ในแนวเขตที่จะเวนคืนเพียงบางส่วนเนื้อที่ 300 ตารางเมตรก็ตาม แต่โจทก์ได้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีฯ ขอให้เวนคืนส่วนที่เหลืออยู่ซึ่งใช้การไม่ได้แล้ว และไม่ปรากฏว่ารัฐมนตรีฯ ได้วินิจฉัยอุทธรณ์ของโจทก์ดังกล่าวให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ ซึ่งถือว่ารัฐมนตรีฯ วินิจฉัยให้เจ้าหน้าที่เวนคืนตามคำร้องขอของโจทก์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 19 วรรคสอง แล้ว
เมื่อจำเลยต้องชำระเงินค่าทดแทนเพิ่มขึ้นให้แก่โจทก์ตามคำวินิจฉัยของศาลโจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยประเภทฝากประจำของธนาคารออมสินในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันที่ต้องมีการจ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มาตรา 26 วรรคสามส่วนจะได้รับอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลง แต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามคำขอของโจทก์ ส่วนวันเริ่มต้นชำระดอกเบี้ยนั้น เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการตกลงทำสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์กันตามมาตรา 10 จึงไม่มีวันที่ต้องมีการจ่าย และปรากฏตามหนังสือแจ้งการวางเงินค่าทดแทนของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 ได้นำเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน4,149,515.37 บาท ไปวางที่สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม2534 ในนามของโจทก์ ดังนั้น จำเลยทั้งสองจึงต้องชำระดอกเบี้ยนับแต่วันดังกล่าวจากเงินค่าทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ศาลวินิจฉัยให้เพิ่มขึ้นจากที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดซึ่งรวมกันแล้วเป็นจำนวน 13,403,084.63 บาท แต่ต่อมาคณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นและจำนวนเงินค่าทดแทนได้แก้ไขราคาเบื้องต้นเฉพาะที่ดินให้แก่โจทก์เพิ่มขึ้นอีก 5,607,000 บาท และโจทก์ได้รับเงินจำนวนนี้ไปแล้วเมื่อวันที่26 เมษายน 2536 นับแต่วันดังกล่าว ต้นเงินที่ใช้คำนวณดอกเบี้ยจึงต้องลดลงจำนวน5,607,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4132/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนการเวนคืน: การประเมินราคาที่ดิน, ความเสียหายทางธุรกิจ, และการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับราคาที่ดินของโจทก์รวมทั้งต้นไม้และความเสียหายจากการที่ถูกเวนคืนโดยคำนวณราคาจากสภาพที่ดิน ราคาต้นไม้ยืนต้นอาคารโรงงานและสิ่งปลูกสร้าง และความเสียหายหากมีการซื้อขายหรือรื้อถอนอาคารโรงงานของโจทก์รวมทั้งโรงงานที่จะต้องสร้างใหม่ ซึ่งเป็นคำฟ้องโจทก์ที่ได้บรรยายแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา คำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้วโจทก์ไม่จำต้องบรรยายว่า ราคาซื้อขายที่ดินแปลงละเท่าใด ต้นไม้ยืนต้นเป็นต้นไม้อะไร ปลูกเมื่อใด ให้ผลอย่างไร โรงงานสร้างเมื่อใด ราคาเท่าใด โรงงานตั้งที่ไหนมีรายละเอียดเช่นใด เพราะเป็นรายละเอียดที่สามารถนำสืบได้ในชั้นพิจารณา ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
โจทก์ที่ 2 เป็นเจ้าของโรงงานพิพาทนับแต่ซื้อโรงงานมาจากบริษัท ล. ซึ่งเป็นเวลาก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองรนะยอง จังหวัดระยอง พ.ศ.2509ใช้บังคับ โจทก์ที่ 2 จึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนได้
โจทก์ทั้งสองและจำเลยที่ 1 ที่ 3 ได้ตั้งอนุญาโตตุลาการฝ่ายละคนตั้งแต่ปี 2516 มีการเจรจากันเรื่อยมา แต่ตกลงกันไม่ได้ โดยมีการเปลี่ยนอนุญาโตตุลาการทั้งสองฝ่ายเมื่อปี 2522 และมีการนัดเจรจากันหลายครั้ง ดังนี้จะถือว่าอนุญาโตตุลาการเพิกเฉยไม่กระทำการตามหน้าที่ยังไม่ได้ ส่วนการเจรจาไม่เสร็จสิ้นภายในเวลาอันสมควรนั้น เนื่องมาจากสาเหตุราษฎรร้องเรียนให้ยกเลิกการเวนคืน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอ พ.ร.บ.ยกเลิกการเวนคืนถึง 2 ครั้ง ดังนั้นความเป็นอนุญาโตตุลาการจึงยังไม่เป็นอันสิ้นสุด ต้องถือว่าอยู่ในขั้นตอนพิจารณาดำเนินการของอนุญาโตตุลาการ แม้จำเลยที่ 1 จะแจ้งราคาเด็ดขาดให้ฝ่ายโจทก์ทั้งสองทราบและนำเงินค่าทดแทนไปวาง ณ สำนักงานวางทรัพย์แล้วก็ตาม แต่โจทก์ทั้งสองยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทนไป ถือว่าโจทก์ทั้งสองยังโต้แย้งจำนวนค่าทดแทนอยู่ เมื่อต่อมามี พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหา-ริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ใช้บังคับ ให้มีผลยกเลิก พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 ในส่วนที่เกี่ยวแก่กรณีที่มีการตั้งอนุญาโตตุลาการและยังมิได้ชี้ขาดให้เป็นอันยกเลิกอนุญาโตตุลาการนั้น โดยให้คู่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีได้ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ดังนั้นโจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีนี้ได้
โจทก์ที่ 2 ขยายโรงงานและติดตั้งเครื่องจักรกลเพิ่มขึ้นภายหลังจากมี พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนดังกล่าวใช้บังคับซึ่งในเรื่องนี้ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มีหลักเกณฑ์อยู่ว่า หากผู้ที่ถูกเวนคืนปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างใดเพิ่มขึ้นภายหลังจาก พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนประกาศใช้บังคับโดยไม่ได้รับอนุญาตแล้วก็ย่อมไม่มีสิทธินำมาเรียกค่าทดแทนได้ ส่วนสิ่งปลูกสร้างที่มีอยู่เดิมก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับผู้ที่ถูกเวนคืนยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าทดแทนได้ โจทก์ที่ 2 จึงยังคงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนที่มีอยู่ก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับ
แม้จำเลยที่ 3 กำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์จะเป็นการกำหนดค่าทดแทนถูกต้องตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 แต่ไม่เป็นธรรมแก่โจทก์เพราะเวลาล่วงเลยมาเป็นเวลาหลายปีการกำหนดเงินค่าทดแทนยังไม่สิ้นสุด โจทก์ยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทน ส่วนที่ดินมีราคาสูงขึ้น ต่อมา พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 44 ออกใช้บังคับ ฉะนั้นการกำหนดเงินค่าทดแทนแก่โจทก์จึงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นใหม่ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้มีการแก้ไขเพิ่มราคาค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนให้แก่ประชาชนผู้ถูกเวนคืนให้ได้รับความเป็นธรรมยิ่งขึ้น
พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530มาตรา 21 วรรคท้าย บัญญัติให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่อาศัยหรือประกอบการค้าขายหรือการงานอันชอบด้วยกฎหมายอยู่ในอสังหา-ริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน และบุคคลดังกล่าวได้รับความเสียหายเนื่องจากการที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายนั้นด้วย การที่โจทก์ต้องรื้อถอนโรงงานออกไปจากที่ดินที่ถูกเวนคืน จำต้องหยุดการผลิต ทำให้ขาดรายได้จากการประกอบการ โจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายดังกล่าว ส่วนค่าชดเชยค่าจ้างที่ต้องเลิกจ้างคนงาน หากโจทก์ที่ 2ได้รับความเสียหายจริง โจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิเรียกจากจำเลยที่ 1 และที่ 3 ได้
กองทัพเรือจำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลสังกัดกระทรวงกลาโหมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เนื่องจากจำเลยที่ 1 ต้องใช้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันประเทศ ซึ่งเป็นภารกิจของจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์เห็นว่าการกำหนดเงินค่าทดแทนไม่เป็นธรรม ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ ส่วนจำเลยที่ 3 เป็นเจ้าพนักงานในสังกัดของจำเลยที่ 1 และเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในขณะที่โจทก์ฟ้องคดี จึงต้องร่วมรับผิดโดยตำแหน่งหน้าที่กับจำเลยที่ 1
โจทก์ที่ 2 เป็นเจ้าของโรงงานพิพาทนับแต่ซื้อโรงงานมาจากบริษัท ล. ซึ่งเป็นเวลาก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และอำเภอเมืองรนะยอง จังหวัดระยอง พ.ศ.2509ใช้บังคับ โจทก์ที่ 2 จึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนได้
โจทก์ทั้งสองและจำเลยที่ 1 ที่ 3 ได้ตั้งอนุญาโตตุลาการฝ่ายละคนตั้งแต่ปี 2516 มีการเจรจากันเรื่อยมา แต่ตกลงกันไม่ได้ โดยมีการเปลี่ยนอนุญาโตตุลาการทั้งสองฝ่ายเมื่อปี 2522 และมีการนัดเจรจากันหลายครั้ง ดังนี้จะถือว่าอนุญาโตตุลาการเพิกเฉยไม่กระทำการตามหน้าที่ยังไม่ได้ ส่วนการเจรจาไม่เสร็จสิ้นภายในเวลาอันสมควรนั้น เนื่องมาจากสาเหตุราษฎรร้องเรียนให้ยกเลิกการเวนคืน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอ พ.ร.บ.ยกเลิกการเวนคืนถึง 2 ครั้ง ดังนั้นความเป็นอนุญาโตตุลาการจึงยังไม่เป็นอันสิ้นสุด ต้องถือว่าอยู่ในขั้นตอนพิจารณาดำเนินการของอนุญาโตตุลาการ แม้จำเลยที่ 1 จะแจ้งราคาเด็ดขาดให้ฝ่ายโจทก์ทั้งสองทราบและนำเงินค่าทดแทนไปวาง ณ สำนักงานวางทรัพย์แล้วก็ตาม แต่โจทก์ทั้งสองยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทนไป ถือว่าโจทก์ทั้งสองยังโต้แย้งจำนวนค่าทดแทนอยู่ เมื่อต่อมามี พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหา-ริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ใช้บังคับ ให้มีผลยกเลิก พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 ในส่วนที่เกี่ยวแก่กรณีที่มีการตั้งอนุญาโตตุลาการและยังมิได้ชี้ขาดให้เป็นอันยกเลิกอนุญาโตตุลาการนั้น โดยให้คู่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีได้ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ดังนั้นโจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีนี้ได้
โจทก์ที่ 2 ขยายโรงงานและติดตั้งเครื่องจักรกลเพิ่มขึ้นภายหลังจากมี พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนดังกล่าวใช้บังคับซึ่งในเรื่องนี้ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มีหลักเกณฑ์อยู่ว่า หากผู้ที่ถูกเวนคืนปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างใดเพิ่มขึ้นภายหลังจาก พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนประกาศใช้บังคับโดยไม่ได้รับอนุญาตแล้วก็ย่อมไม่มีสิทธินำมาเรียกค่าทดแทนได้ ส่วนสิ่งปลูกสร้างที่มีอยู่เดิมก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับผู้ที่ถูกเวนคืนยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าทดแทนได้ โจทก์ที่ 2 จึงยังคงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนที่มีอยู่ก่อน พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับ
แม้จำเลยที่ 3 กำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์จะเป็นการกำหนดค่าทดแทนถูกต้องตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 แต่ไม่เป็นธรรมแก่โจทก์เพราะเวลาล่วงเลยมาเป็นเวลาหลายปีการกำหนดเงินค่าทดแทนยังไม่สิ้นสุด โจทก์ยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทน ส่วนที่ดินมีราคาสูงขึ้น ต่อมา พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 44 ออกใช้บังคับ ฉะนั้นการกำหนดเงินค่าทดแทนแก่โจทก์จึงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นใหม่ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้มีการแก้ไขเพิ่มราคาค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนให้แก่ประชาชนผู้ถูกเวนคืนให้ได้รับความเป็นธรรมยิ่งขึ้น
พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530มาตรา 21 วรรคท้าย บัญญัติให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่อาศัยหรือประกอบการค้าขายหรือการงานอันชอบด้วยกฎหมายอยู่ในอสังหา-ริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน และบุคคลดังกล่าวได้รับความเสียหายเนื่องจากการที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายนั้นด้วย การที่โจทก์ต้องรื้อถอนโรงงานออกไปจากที่ดินที่ถูกเวนคืน จำต้องหยุดการผลิต ทำให้ขาดรายได้จากการประกอบการ โจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายดังกล่าว ส่วนค่าชดเชยค่าจ้างที่ต้องเลิกจ้างคนงาน หากโจทก์ที่ 2ได้รับความเสียหายจริง โจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิเรียกจากจำเลยที่ 1 และที่ 3 ได้
กองทัพเรือจำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลสังกัดกระทรวงกลาโหมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เนื่องจากจำเลยที่ 1 ต้องใช้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันประเทศ ซึ่งเป็นภารกิจของจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์เห็นว่าการกำหนดเงินค่าทดแทนไม่เป็นธรรม ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ ส่วนจำเลยที่ 3 เป็นเจ้าพนักงานในสังกัดของจำเลยที่ 1 และเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในขณะที่โจทก์ฟ้องคดี จึงต้องร่วมรับผิดโดยตำแหน่งหน้าที่กับจำเลยที่ 1
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4132/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์: หลักเกณฑ์การคำนวณค่าทดแทน ความเสียหาย และความรับผิด
โจทก์บรรยายฟ้องเกี่ยวกับราคาที่ดินของโจทก์รวมทั้งต้นไม้และความเสียหายจากการที่ถูกเวนคืนโดยคำนวณราคาจากสภาพที่ดิน ราคาต้นไม้ยืนต้นอาคารโรงงานและสิ่งปลูกสร้างและความเสียหายหากมีการซื้อขายหรือรื้อถอนอาคารโรงงานของโจทก์รวมทั้งโรงงานที่จะต้องสร้างใหม่ ซึ่งเป็นคำฟ้องโจทก์ที่ได้บรรยายแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา คำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นแล้วโจทก์ไม่จำต้องบรรยายว่า>ราคาซื้อขายที่ดินแปลงละเท่าใด ต้นไม้ยืนต้นเป็นต้นไม้อะไร ปลูกเมื่อใด ให้ผลอย่างไร โรงงานสร้างเมื่อใด ราคาเท่าใดโรงงานตั้งที่ไหนมีรายละเอียดเช่นใด เพราะเป็นรายละเอียดที่สามารถนำสืบได้ในชั้นพิจารณา ฟ้องของโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม โจทก์ที่ 2 เป็นเจ้าของโรงงานพิพาทนับแต่ซื้อโรงงานมาจากบริษัทล.ซึ่งเป็นเวลาก่อน พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีและอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง พ.ศ.2509 ใช้บังคับโจทก์ที่ 2 จึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนได้ โจทก์ทั้งสองและจำเลยที่ 1 ที่ 3 ได้ตั้งอนุญาโตตุลาการฝ่ายละคนตั้งแต่ปี 2516 มีการเจรจากันเรื่อยมา แต่ตกลงกันไม่ได้โดยมีการเปลี่ยนอนุญาโตตุลาการทั้งสองฝ่ายเมื่อปี 2522 และมีการนัดเจรจากันหลายครั้ง ดังนี้ จะถือว่าอนุญาโตตุลาการเพิกเฉยไม่กระทำการตามหน้าที่ยังไม่ได้ ส่วนการเจรจาไม่เสร็จสิ้นภายในเวลาอันสมควรนั้น เนื่องมาจากสาเหตุราษฎรร้องเรียนให้ยกเลิกการเวนคืน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอพระราชบัญญัติยกเลิกการเวนคืนถึง 2 ครั้ง ดังนั้นความเป็นอนุญาโตตุลาการจึงยังไม่เป็นอันสิ้นสุด ต้องถือว่าอยู่ในขั้นตอนพิจารณาดำเนินการของอนุญาโตตุลาการ แม้จำเลยที่ 1จะแจ้งราคาเด็ดขาดให้ฝ่ายโจทก์ทั้งสองทราบและนำเงินค่าทดแทนไปวาง ณ สำนักงานวางทรัพย์แล้วก็ตาม แต่โจทก์ทั้งสองยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทนไป ถือว่าโจทก์ทั้งสองยังโต้แย้งจำนวนค่าทดแทนอยู่ เมื่อต่อมามี พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ใช้บังคับ ให้มีผลยกเลิก พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 ในส่วนที่เกี่ยวแก่กรณีที่มีการตั้งอนุญาโตตุลาการและยังมิได้ชี้ขาดให้เป็นอันยกเลิกอนุญาโตตุลาการนั้น โดยให้คู่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีได้ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530ดังนั้น โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีนี้ได้ โจทก์ที่ 2 ขยายโรงงานและติดตั้งเครื่องจักรกลเพิ่มขึ้นภายหลังจากมี พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนดังกล่าวใช้บังคับซึ่งในเรื่องนี้พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 มีหลักเกณฑ์อยู่ว่าหากผู้ที่ถูกเวนคืนปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างใดเพิ่มขึ้นภายหลังจากพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนประกาศใช้บังคับโดยไม่ได้รับอนุญาตแล้วก็ย่อมไม่มีสิทธินำมาเรียกค่าทดแทนได้ ส่วนสิ่งปลูกสร้างที่มีอยู่เดิมก่อน พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับผู้ที่ถูกเวนคืนยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าทดแทนได้ โจทก์ที่ 2 จึงยังคงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนที่มีอยู่ก่อน พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนใช้บังคับ แม้จำเลยที่ 3 กำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์จะเป็นการกำหนดค่าทดแทนถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2497 แต่ไม่เป็นธรรมแก่โจทก์เพราะเวลาล่วงเลยมาเป็นเวลาหลายปีการกำหนดเงินค่าทดแทนยังไม่สิ้นสุด โจทก์ยังไม่ได้รับเงินค่าทดแทน ส่วนที่ดินมีราคาสูงขึ้น ต่อมา พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2530 และประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ 44 ออกใช้บังคับ ฉะนั้นการกำหนดเงินค่าทดแทนแก่โจทก์จึงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นใหม่ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้มีการแก้ไขเพิ่มราคาค่าทดแทนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนให้แก่ประชาชนผู้ถูกเวนคืนให้ได้รับความเป็นธรรมยิ่งขึ้น พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530มาตรา 21 วรรคท้าย บัญญัติให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่อาศัยหรือประกอบการค้าขายหรือการงานอันชอบด้วยกฎหมายอยู่ในอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน และบุคคลดังกล่าวได้รับความเสียหายเนื่องจากการที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายนั้นด้วย การที่โจทก์ต้องรื้อถอนโรงงานออกไปจากที่ดินที่ถูกเวนคืนจำต้องหยุดการผลิต ทำให้ขาดรายได้จากการประกอบการโจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนสำหรับความเสียหายดังกล่าวส่วนค่าชดเชยค่าจ้างที่ต้องเลิกจ้างคนงาน หากโจทก์ที่ 2ได้รับความเสียหายจริง โจทก์ที่ 2 ย่อมมีสิทธิเรียกจากจำเลยที่ 1และที่ 3 ได้ กองทัพเรือจำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลสังกัดกระทรวงกลาโหมการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เนื่องจากจำเลยที่ 1 ต้องใช้เพื่อประโยชน์ในการป้องกันประเทศ ซึ่งเป็นภารกิจของจำเลยที่ 1เมื่อโจทก์เห็นว่าการกำหนดเงินค่าทดแทนไม่เป็นธรรม ย่อมมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ ส่วนจำเลยที่ 3 เป็นเจ้าพนักงานในสังกัดของจำเลยที่ 1 และเป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในขณะที่โจทก์ฟ้องคดี จึงต้องร่วมรับผิดโดยตำแหน่งหน้าที่กับจำเลยที่ 1
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4124/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดินโดยไม่กำหนดค่าทดแทน: สิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย
ที่ดินพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นของโจทก์ทั้งสอง เมื่อกรมทางหลวงจำเลยเวนคืนเอาที่ดินพิพาทของโจทก์ทั้งสองไปขยายเป็นเขตทางหลวงและมิได้กำหนดค่าทดแทนให้โจทก์ทั้งสองตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหา-ริมทรัพย์ โดยโจทก์ทั้งสองไม่มีโอกาสเรียกค่าทดแทนตามขั้นตอนของกฎหมายได้โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายเนื่องจากที่ดินพิพาทถูกเวนคืนจากจำเลยได้
การดำเนินการเพื่อการเวนคืนที่ดินของโจทก์เพื่อสร้างทางหลวงในคดีนี้ จำเลยมิได้กำหนดค่าทดแทนที่ดินพิพาทที่ถูกเวนคืนตาม พ.ร.ฎ.กำหนดแนวทางหลวงที่จะสร้างทางหลวงจังหวัด... พ.ศ.2530 ให้แก่โจทก์ทั้งสองตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ดังนี้โจทก์ทั้งสองจึงไม่มีโอกาสปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายในการเรียกค่าทดแทน จึงไม่มีกรณีที่จะต้องพิจารณาว่าจะนำหลักเกณฑ์การกำหนดค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 295 ลงวันที่ 28พฤศจิกายน 2515 หรือตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530มาใช้บังคับ แต่กรณีตามคำฟ้องของโจทก์ที่เรียกค่าที่ดินที่จำเลยขอทำถนนในที่ดินของโจทก์ส่วนที่พิพาทโดยจำเลยจะจ่ายค่าทดแทนให้โจทก์ในภายหลังนั้น พอถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายนั่นเอง
การดำเนินการเพื่อการเวนคืนที่ดินของโจทก์เพื่อสร้างทางหลวงในคดีนี้ จำเลยมิได้กำหนดค่าทดแทนที่ดินพิพาทที่ถูกเวนคืนตาม พ.ร.ฎ.กำหนดแนวทางหลวงที่จะสร้างทางหลวงจังหวัด... พ.ศ.2530 ให้แก่โจทก์ทั้งสองตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ดังนี้โจทก์ทั้งสองจึงไม่มีโอกาสปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายในการเรียกค่าทดแทน จึงไม่มีกรณีที่จะต้องพิจารณาว่าจะนำหลักเกณฑ์การกำหนดค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 295 ลงวันที่ 28พฤศจิกายน 2515 หรือตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530มาใช้บังคับ แต่กรณีตามคำฟ้องของโจทก์ที่เรียกค่าที่ดินที่จำเลยขอทำถนนในที่ดินของโจทก์ส่วนที่พิพาทโดยจำเลยจะจ่ายค่าทดแทนให้โจทก์ในภายหลังนั้น พอถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายนั่นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4124/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดินโดยไม่กำหนดค่าทดแทน: โจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายได้
ที่ดินพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นของโจทก์ทั้งสองเมื่อกรมทางหลวงจำเลยเวนคืนเอาที่ดินของโจทก์ทั้งสองไปขยายเป็นเขตทางหลวงและมิได้กำหนดค่าทดแทนให้โจทก์ทั้งสองตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์โดยโจทก์ทั้งสองไม่มีโอกาสเรียกค่าทดแทนตามขั้นตอนของกฎหมายได้โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายเนื่องจากที่ดินพิพาทถูกเวนคืนจากจำเลยได้ การดำเนินการเพื่อการเวนคืนที่ดินของโจทก์เพื่อสร้างทางหลวงในคดีนี้จำเลยมิได้กำหนดค่าทดแทนที่ดินพิพาทที่ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดแนวทางหลวงที่จะสร้างทางหลวงจังหวัดพ.ศ.2530ให้แก่โจทก์ทั้งสองตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ดังนี้โจทก์ทั้งสองจึงไม่มีโอกาสปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมายในการเรียกค่าทดแทนจึงไม่มีกรณีที่จะต้องพิจารณาว่าจะนำหลักเกณฑ์การกำหนดค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่295ลงวันที่28พฤศจิกายน2515หรือตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2530มาใช้บังคับแต่กรณีตามคำฟ้องของโจทก์ที่เรียกค่าที่ดินที่จำเลยขอทำถนนในที่ดินของโจทก์ส่วนที่พิพาทโดยจำเลยจะจ่ายค่าทดแทนให้โจทก์ในภายหลังนั้นพอถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายนั่นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3710/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดค่าทดแทนที่ดินเวนคืนตาม พ.ร.บ.เวนคืนฯ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ศาลล่างพิพากษาเกินกว่าที่ควรจะเป็น
ตาม พ.ร.ฎ.กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอปากเกร็ด... พ.ศ.2530 กำหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.ฎ.ในฐานะดังกล่าวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจหน้าที่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นของอสังหา-ริมทรัพย์ และวินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 และเป็นผู้รักษาการตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ซึ่งเป็นกฎหมายจัดตั้งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยขึ้นให้มีอำนาจหน้าที่ในการสร้างทางพิเศษ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจหน้าที่ดูแลให้การดำเนินการเวนคืนเพื่อสร้างทางพิเศษเป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย และการดำเนินการเวนคืนตาม พ.ร.ฎ.ดังกล่าวอยู่ในอำนาจหน้าที่และวัตถุประสงค์ของกระทรวงมหาดไทยจำเลยที่ 3 ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 216 เรื่องปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ข้อ 19 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 อีกหลายฉบับ ต่อมามีการยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 โดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวง กรม พ.ศ.2534 มาตรา 3 และบัญญัติอำนาจหน้าที่นี้ของจำเลยที่ 3 ไว้ในมาตรา 19 ดังนั้น เมื่อโจทก์อ้างว่าการกำหนดค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์ตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ไม่เป็นไปตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2530 โจทก์ผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนจึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 3 ได้
เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการกำหนดเงินค่าทดแทนไว้เป็นพิเศษในพ.ร.บ.เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฉบับใดโดยเฉพาะ ดังนี้การกำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนจึงต้องบังคับตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหา-ริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มาตรา 21 (1) ถึง (5) ประกอบกัน
ศาลล่างทั้งสองกำหนดค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์โดยคำนึงถึงราคาที่ดินที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาดของปี 2535 อันเป็นปีภายหลังจากคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯได้กำหนดราคาเบื้องต้นของอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนและจำนวนเงินค่าทดแทน และจำเลยที่ 1 ได้จ่ายเงินค่าทดแทนที่ดินตามราคาที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯกำหนดให้แก่โจทก์ไปแล้วค่าทดแทนที่ดินที่ศาลล่างทั้งสองกำหนดดังกล่าวนั้นจึงสูงกว่าค่าทดแทนที่ดินที่กำหนดโดยคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ มาตรา21 (1) ถึง (5) ตามที่คณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นกำหนดซึ่งเป็นธรรมแก่โจทก์และสังคมแล้ว ดังนี้ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ชำระค่าทดแทนเพิ่มขึ้นอีกนั้น จึงเป็นการไม่ชอบ
เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการกำหนดเงินค่าทดแทนไว้เป็นพิเศษในพ.ร.บ.เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฉบับใดโดยเฉพาะ ดังนี้การกำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนจึงต้องบังคับตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหา-ริมทรัพย์ พ.ศ.2530 มาตรา 21 (1) ถึง (5) ประกอบกัน
ศาลล่างทั้งสองกำหนดค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์โดยคำนึงถึงราคาที่ดินที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาดของปี 2535 อันเป็นปีภายหลังจากคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯได้กำหนดราคาเบื้องต้นของอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนและจำนวนเงินค่าทดแทน และจำเลยที่ 1 ได้จ่ายเงินค่าทดแทนที่ดินตามราคาที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯกำหนดให้แก่โจทก์ไปแล้วค่าทดแทนที่ดินที่ศาลล่างทั้งสองกำหนดดังกล่าวนั้นจึงสูงกว่าค่าทดแทนที่ดินที่กำหนดโดยคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ มาตรา21 (1) ถึง (5) ตามที่คณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นกำหนดซึ่งเป็นธรรมแก่โจทก์และสังคมแล้ว ดังนี้ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ชำระค่าทดแทนเพิ่มขึ้นอีกนั้น จึงเป็นการไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3710/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดค่าทดแทนที่ดินเวนคืน ต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ใน พ.ร.บ.เวนคืนฯ โดยคำนึงถึงราคาตลาด, สภาพที่ดิน, และวัตถุประสงค์การเวนคืน
ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่อำเภอปากเกร็ด พ.ศ. 2530 กำหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาในฐานะดังกล่าวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจหน้าที่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นของอสังหาริมทรัพย์และวินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530และเป็นผู้รักษาการตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290ซึ่งเป็นกฎหมายจัดตั้งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยขึ้นให้มีอำนาจหน้าที่ในการสร้างทางพิเศษ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจหน้าที่ดูแลให้การดำเนินการเวนคืน เพื่อสร้างทางพิเศษเป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย และการดำเนินการ เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวอยู่ในอำนาจหน้าที่ และวัตถุประสงค์ของกระทรวงมหาดไทยจำเลยที่ 3 ตามประกาศของ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 เรื่องปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรมข้อ 19 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 อีกหลายฉบับ ต่อมามีการยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 โดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534 มาตรา 3 และบัญญัติอำนาจหน้าที่นี้ของจำเลยที่ 3 ไว้ในมาตรา 19 ดังนั้นเมื่อโจทก์อ้างว่าการกำหนดค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์ตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 โจทก์ผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนจึงมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 3 ได้ เมื่อไม่ปรากฏว่ามีการกำหนดเงินค่าทดแทนไว้เป็นพิเศษในพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฉบับใดโดยเฉพาะดังนี้การกำหนดเงินค่าทดแทนที่ดินของโจทก์ที่ถูกเวนคืนจึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2530 มาตรา 21(1) ถึง (5) ประกอบกัน ศาลล่างทั้งสองกำหนดค่าทดแทนที่ดินให้แก่โจทก์โดยคำนึงถึงราคาที่ดินที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาดของปี2535 อันเป็นปีภายหลังจากคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯได้กำหนดราคาเบื้องต้นของอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนและจำนวนเงินค่าทดแทน และจำเลยที่ 1 ได้จ่ายเงินค่าทดแทนที่ดินตามราคาที่คณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้นฯ กำหนดให้แก่โจทก์ไปแล้ว ค่าทดแทนที่ดินที่ศาลล่างทั้งสองกำหนดดังกล่าวนั้นจึงสูงกว่าค่าทดแทนที่ดินที่กำหนดโดยคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มาตรา 21(1) ถึง (5) ตามที่คณะกรรมการแก้ไขราคาเบื้องต้นกำหนดซึ่งเป็นธรรมแก่โจทก์และสังคมแล้ว ดังนี้ที่ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ชำระค่าทดแทนเพิ่มขึ้นอีกนั้น จึงเป็นการไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3671/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยค่าทดแทนเวนคืน: อัตราดอกเบี้ยสูงสุดตามประกาศธนาคารออมสินเมื่อตกลงราคามิได้
โจทก์กับจำเลยที่ 1 ได้ทำสัญญาซื้อขายตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2530 ในกรณีที่ไม่อาจตกลงกันได้ในเรื่องจำนวนเงินค่าทดแทนเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2535 นับแต่วันดังกล่าวไปอีก 120 วัน ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่จำเลยทั้งสองจะต้องจ่ายเงินให้แก่โจทก์ คือวันที่ 24 ตุลาคม 2535อันเป็นวันที่ต้องมีการจ่ายเงินค่าทดแทนตามความในมาตรา 26 วรรคสาม โจทก์จึงมีสิทธิได้รับดอกเบี้ยจากเงินค่าทดแทนที่เพิ่มขึ้นนับแต่วันดังกล่าวในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยเงินฝากประเภทฝากประจำของธนาคารออมสิน ส่วนจะได้รับในอัตราเท่าใดต้องเป็นไปตามประกาศของธนาคารออมสินที่ประกาศอัตราดอกเบี้ยขึ้นลงแต่ต้องไม่เกินอัตราร้อยละ 9 ต่อปี เพราะโจทก์มิได้อุทธรณ์ฎีกาขอให้เพิ่มอัตราดอกเบี้ยจากที่ศาลชั้นต้นกำหนด