พบผลลัพธ์ทั้งหมด 328 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 961/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ การโอนที่ดินที่เป็นทางให้เสียเปรียบ และการพิพากษาแก้โฉนดตามส่วนที่ครอบครอง
การที่ศาลเรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับจำเลยในคดีเนื่องจากศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ข. แม้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 58 จะบัญญัติว่า ผู้ที่ศาลเรียกเข้ามาเป็นคู่ความจะมีสิทธิเสมือนว่าตนได้ฟ้องหรือถูกฟ้องก็ตาม ก็เป็นบทบัญญัติให้สิทธิแก่ผู้ที่ถูกเรียกเข้ามาในคดีเท่านั้น การที่บิดาโจทก์ถูกเรียกเข้ามาในคดี ไม่ใช่เป็นการกระทำของโจทก์ เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการีของตน จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทน โจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้น ก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้ว การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่น โจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตามแต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาท เป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (2)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทน โจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้น ก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้ว การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่น โจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตามแต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่า โจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาท เป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 (2)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 961/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์ การโอนที่ดินที่เป็นทางให้เสียเปรียบ และอำนาจศาลในการแก้ไขโฉนด
การที่ศาลเรียกบิดาโจทก์เข้ามาเป็นจำเลยร่วมกับจำเลยในคดีเนื่องจากศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ข.แม้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 58 จะบัญญัติว่า ผู้ที่ศาลเรียกเข้ามาเป็นคู่ความจะมีสิทธิเสมือนว่าตนได้ฟ้องหรือถูกฟ้องก็ตาม ก็เป็นบทบัญญัติให้สิทธิแก่ผู้ที่ถูกเรียกเข้ามาในคดีเท่านั้น การที่บิดาโจทก์ถูกเรียกเข้ามาในคดี ไม่ใช่เป็นการกระทำของโจทก์ เรียกไม่ได้ว่าโจทก์ฟ้องบุพการีของตน จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทนโจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้นก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้วการที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่นโจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตาม แต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาทเป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(2)(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
กฎหมายไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสาร ห้ามแต่การนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข
โจทก์ครอบครองที่พิพาทจนได้กรรมสิทธิ์แล้วผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดพิพาทได้โอนที่พิพาทนั้นให้จำเลยด้วยความสมัครใจอันเป็นทางให้เสียเปรียบแก่โจทก์ผู้อยู่ในฐานะอันจะขอให้จดทะเบียนสิทธิของตนได้อยู่ก่อนแล้ว และการโอนให้นั้นจำเลยมิได้เสียค่าตอบแทนโจทก์จึงยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้จำเลย และขอให้เพิกถอนการโอนที่ทำให้ตนเสียเปรียบได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1300
แม้ในคำขอโจทก์จะไม่ได้ขอให้ถอนชื่อจำเลยออกจากโฉนดก็ตาม แต่ที่ขอให้เพิกถอน ทำลายนิติกรรมให้จำเลยนั้นก็เป็นการขอให้เพิกถอนชื่อจำเลยอยู่ในตัวแล้วการที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนชื่อจำเลยจึงไม่เกินคำขอ
จำเลยร่วมโอนที่พิพาทส่วนของตนและของโจทก์ไปให้จำเลยอื่นโจทก์จะขอให้เพิกถอนการโอนไปถึงส่วนของจำเลยร่วมด้วยไม่ได้ การที่ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการโอนในส่วนของจำเลยร่วมด้วย จึงเป็นการพิพากษาที่ไม่ชอบ
แม้โจทก์จะไม่ได้อ้างโฉนดพิพาทเป็นพยานก็ตาม แต่โจทก์ได้ระบุมาในฟ้องและนำสืบข้อเท็จจริงฟังได้ว่าโจทก์ได้ครอบครองเป็นเจ้าของที่ดินในโฉนดพิพาทเป็นส่วนสัดจนได้กรรมสิทธิ์แล้ว ทั้งจำเลยก็ได้อ้างโฉนดพิพาทเข้ามาในคดีด้วย ดังนี้ ศาลจึงหยิบยกขึ้นพิพากษาให้แก้โฉนดได้
โจทก์ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นเจ้าของและใส่ชื่อโจทก์ในโฉนดร่วมกับจำเลยรวม 4 คนนั้น มีความหมายให้แสดงว่าโจทก์มีส่วนเป็นเจ้าของคนละ 1 ใน 4 แม้จะขอมาในลักษณะเป็นเจ้าของร่วมก็ตาม เมื่อได้ความว่าต่างได้ครอบครองเป็นส่วนสัดกันแล้ว ศาลก็มีอำนาจที่จะพิพากษาให้แยกส่วนตามที่ครอบครองเป็นส่วนสัดกันนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(2)(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 918/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานหลักฐานเรื่องการกู้ยืมเงินและโอนที่ดินชำระหนี้ ศาลฎีกาพิจารณาได้ตามข้อเท็จจริงที่จำเลยให้การ
ศาลเป็นผู้พินิจพิจารณาพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยตามที่นำสืบมาในสำนวน การตรวจพิจารณาลายเซ็นชื่อของโจทก์ในสัญญากู้เปรียบเทียบกับลายเซ็นชื่อของโจทก์ในเอกสารต่างๆ ตามที่ปรากฏในสำนวนก็เป็นการพิจารณาอย่างหนึ่งที่ศาลมีอำนาจกระทำได้
จำเลยให้การโดยชัดแจ้งว่าโจทก์กู้ยืมเงินจำเลยไป 5,000 บาท ต่อมาไม่มีเงินชำระเงินต้น โจทก์จึงเอาส่วนพิพาทตีราคาใช้หนี้จำเลยในราคา 3,000 บาท โดยทำสัญญายกสวนให้จำเลย ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบได้ ส่วนการที่ต้องทำสัญญาเป็นสัญญายกให้ก็เนื่องจากเจ้าหน้าที่ขัดข้องที่จะทำสัญญาเป็นสัญญาซื้อขาย จึงต้องทำเป็นสัญญายกให้ตามที่เจ้าหน้าที่ชี้แจง ซึ่งเป็นการนำสืบแสดงถึงเหตุที่ต้องทำเป็นสัญญายกให้เท่านั้น ถึงแม้จำเลยจะมิได้ให้การไว้โดยชัดแจ้ง จำเลยก็นำสืบได้ มิใช่จำเลยนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารและนำสืบนอกประเด็นข้อต่อสู้แต่อย่างใด
ข้อที่ว่าจำเลยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือแสดงว่าได้มีการชำระหนี้ 3,000 บาทมาแสดงต่อศาล โจทก์มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์นี้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้จึงต้องห้าม ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
จำเลยให้การโดยชัดแจ้งว่าโจทก์กู้ยืมเงินจำเลยไป 5,000 บาท ต่อมาไม่มีเงินชำระเงินต้น โจทก์จึงเอาส่วนพิพาทตีราคาใช้หนี้จำเลยในราคา 3,000 บาท โดยทำสัญญายกสวนให้จำเลย ดังนี้ จำเลยย่อมนำสืบได้ ส่วนการที่ต้องทำสัญญาเป็นสัญญายกให้ก็เนื่องจากเจ้าหน้าที่ขัดข้องที่จะทำสัญญาเป็นสัญญาซื้อขาย จึงต้องทำเป็นสัญญายกให้ตามที่เจ้าหน้าที่ชี้แจง ซึ่งเป็นการนำสืบแสดงถึงเหตุที่ต้องทำเป็นสัญญายกให้เท่านั้น ถึงแม้จำเลยจะมิได้ให้การไว้โดยชัดแจ้ง จำเลยก็นำสืบได้ มิใช่จำเลยนำสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารและนำสืบนอกประเด็นข้อต่อสู้แต่อย่างใด
ข้อที่ว่าจำเลยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือแสดงว่าได้มีการชำระหนี้ 3,000 บาทมาแสดงต่อศาล โจทก์มิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์นี้ ฎีกาโจทก์ข้อนี้จึงต้องห้าม ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 636/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนที่ดินเพื่อชำระหนี้: ไม่ใช่การให้โดยเสน่หา แต่เป็นการซื้อขาย
บิดาจำเลยได้ออกเงินใช้หนี้แทนโจทก์ไป และโจทก์ตกลงจะยกที่ดินให้จำเลย ต่อมาอีก 7 วันโจทก์ก็จดทะเบียนโอนที่ดินให้จำเลย ดังนี้ ไม่ใช่เป็นการให้โดยเสน่หา แต่เป็นลักษณะการซื้อขายที่กัน โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนที่ดินนั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 636/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนที่ดินเพื่อชำระหนี้: ไม่ใช่การให้โดยเสน่หา แต่เป็นการซื้อขาย
บิดาจำเลยได้ออกเงินใช้หนี้แทนโจทก์ไปและโจทก์ตกลงจะยกที่ดินให้จำเลยต่อมาอีก 7 วันโจทก์ก็จดทะเบียนโอนที่ดินให้จำเลยดังนี้ ไม่ใช่เป็นการให้โดยเสน่หาแต่เป็นลักษณะการซื้อขายที่กันโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการโอนที่ดินนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1365/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสินบริคณห์ต้องได้รับความยินยอมจากภริยาเป็นหนังสือ หากไม่สมบูรณ์
การที่สามีจะยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้แก่ใครโดยเสน่หาได้นั้น จะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากภริยา ถ้าภริยาไม่ได้ยินยอมเป็นหนังสือ การให้นั้นไม่สมบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1270/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนที่ดินมือเปล่าต้องได้รับคำรับรองการทำประโยชน์จากนายอำเภอก่อน จึงจะจดทะเบียนได้
ศาลจะบังคับให้พนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนโอนที่ดินมือเปล่าซึ่งยังมิได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้วไม่ได้
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า "ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 15/2509)
ความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 ที่ยอมให้บุคคลที่ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินและผู้รับโอนที่ดินดังกล่าว มีสิทธิขอรับโฉนดที่ดินได้นั้น คำว่า "ผู้รับโอน"นั้นจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับโอนที่ดินมาโดยชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการออกโฉนดที่ดินโดยถูกต้องเสียก่อน แล้วผู้รับโอนนั้นจึงจะมีสิทธิมาขอรับโฉนดที่ดิน ฉะนั้น ที่ดินรายพิพาทซึ่งยังมิได้มีการโอนกันโดยชอบด้วยกฎหมาย และยังเป็นที่ดินที่ไม่ได้รับคำรับรองจากนายอำเภอว่าได้ทำประโยชน์แล้ว จึงโอนกันมิได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 เพียงแต่บัญญัติรับรองสิทธิของผู้ซื้อโดยสุจริตจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลว่ามิเสียไป ถึงแม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาเท่านั้น ซึ่งเป็นคนละเรื่องกันกับเรื่องขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม อันจะต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 และประมวลกฎหมายที่ดิน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 15/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 921/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบกันแสดงเจตนาลวง ทำสัญญาไม่สุจริตเพื่อขัดขวางการโอนที่ดิน และการทำสัญญาโดยมิได้เป็นหนี้จริง
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาจะขายที่พิพาทให้โจทก์แล้วจำเลยที่ 2 เข้าทำสัญญาแย่งซื้อที่พิพาทจากจำเลยที่ 1 โดยให้ราคาสูงกว่าแล้วจำเลยที่ 2 สมยอมกันทำสัญญายอมความเพื่อให้จำเลยที่ 2 ใช้สิทธิอันไม่สุจริตนำสัญญาไปฟ้องศาลเพื่อขายทอดตลาดอันเป็นเหตุให้โจทก์บังคับคดีไม่ได้เมื่อโจทก์ชนะคดีจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 3 สมยอมกับจำเลยที่ 1 ทำหลักฐานแห่งหนี้ขึ้นฟ้องจำเลยที่ 1 โดยมิได้เป็นหนี้กันจริงแล้วยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเงินที่จะได้จากการขายทอดตลาดที่ดินแปลงนี้การกระทำของจำเลยทำให้โจทก์เสียหาย โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
ในคดีแพ่งแดงที่ 107/2503 จำเลยที่ 2 นำยึดที่พิพาทเพื่อขายทอดตลาดโจทก์ร้องขัดทรัพย์ว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ อ้างว่าโจทก์อยู่ในฐานะที่จะจดทะเบียนสิทธิที่พิพาทได้ก่อนจำเลยที่ 2 ส่วนคดีนี้โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยทั้ง 3 สมคบกันแสดงเจตนาลวงโดยจำเลยที่ 2 ใช้เล่ห์เพทุบายแย่งซื้อที่พิพาทจากจำเลยที่ 1 และทำสัญญายอมความกันโดยไม่สุจริตเพื่อยึดที่พิพาทมาขายทอดตลาด ขอให้ศาลเพิกถอนสัญญายอมที่นำมาฟ้องสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตลอดจนคำขอบังคับเป็นคนละอย่างต่างกัน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คำฟ้องของโจทก์บรรยายถึงการกระทำของจำเลยทั้ง 3 ว่า ได้สมคบกันแสดงเจตนาลวง ทำสัญญาขึ้นโดยไม่สุจริต เพื่อขัดขวางมิให้โจทก์ได้รับโอนที่พิพาทจากจำเลยที่ 1 ในเมื่อโจทก์ชนะคดีจำเลยที่ 1 เป็นการเพียงพอจะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีแล้วฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
ในคดีแพ่งแดงที่ 107/2503 จำเลยที่ 2 นำยึดที่พิพาทเพื่อขายทอดตลาดโจทก์ร้องขัดทรัพย์ว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ อ้างว่าโจทก์อยู่ในฐานะที่จะจดทะเบียนสิทธิที่พิพาทได้ก่อนจำเลยที่ 2 ส่วนคดีนี้โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยทั้ง 3 สมคบกันแสดงเจตนาลวงโดยจำเลยที่ 2 ใช้เล่ห์เพทุบายแย่งซื้อที่พิพาทจากจำเลยที่ 1 และทำสัญญายอมความกันโดยไม่สุจริตเพื่อยึดที่พิพาทมาขายทอดตลาด ขอให้ศาลเพิกถอนสัญญายอมที่นำมาฟ้องสภาพแห่งข้อหาและข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาตลอดจนคำขอบังคับเป็นคนละอย่างต่างกัน ฟ้องของโจทก์จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คำฟ้องของโจทก์บรรยายถึงการกระทำของจำเลยทั้ง 3 ว่า ได้สมคบกันแสดงเจตนาลวง ทำสัญญาขึ้นโดยไม่สุจริต เพื่อขัดขวางมิให้โจทก์ได้รับโอนที่พิพาทจากจำเลยที่ 1 ในเมื่อโจทก์ชนะคดีจำเลยที่ 1 เป็นการเพียงพอจะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีแล้วฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 844/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนที่ดินมือเปล่าโดยการยกให้มีผลทำให้ผู้ให้สละการครอบครอง กรรมสิทธิ์จึงตกแก่ผู้รับ
ก่อนผู้ให้ตาย ได้ยกที่ดินและบ้านเรือนให้ผู้รับเข้าครอบครองแล้ว แม้การยกให้จะมิได้จดทะเบียนก็ตาม ที่ดินรายนี้เป็นที่ดินมือเปล่า การที่ผู้ให้ยกให้ ถือได้ว่าเป็นการสละเจตนาครอบครองที่ดินและบ้านเรือน การครอบครองของผู้ให้ก็สิ้นลงและผู้รับซึ่งเป็นผู้รับโอนก็ได้ไปซึ่งการครอบครองนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์และการเพิกถอนการโอนที่ดินที่ขัดแย้งกับกรรมสิทธิ์เดิม คดีไม่ขาดอายุความ
คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการที่จำเลยจัดการโอนที่พิพาทใส่ชื่อจำเลยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในโฉนดซึ่งที่ดินนั้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์แล้วนั้นมิใช่เป็นเรื่องโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉลฉะนั้น ถึงแม้โจทก์จะฟ้องเกิน 1 ปีนับจากวันที่โจทก์รู้เรื่องการโอนใส่ชื่อจำเลยลงในโฉนด คดีก็หาขาดอายุความไม่